ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไรน์ฮาร์ท ไฮดริช"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox officeholder
{{Infobox officeholder
| name = ไรน์ฮาร์ท ไฮดริช
| name = ไรน์ฮาร์ท ไฮดริช<br> Reinhard Heydrich
| birth_name = Reinhard Tristan Eugen Heydrich
| birth_name = Reinhard Tristan Eugen Heydrich
| image = Bundesarchiv Bild 146-1969-054-16, Reinhard Heydrich Recolored.jpg
| image = Bundesarchiv Bild 146-1969-054-16, Reinhard Heydrich Recolored.jpg
บรรทัด 30: บรรทัด 30:
}}
}}
| religion =
| religion =
| order1 = [[ทบวงกลางความมั่นคงไรช์|ผู้อำนวยการทบวงกลางความมั่นคงไรช์]]
| order1 = [[กรมการใหญ่ความมั่นคงไรช์|อธิบดีกรมการใหญ่ความมั่นคงไรช์]]
| term_start1 = 27 กันยายน 1939
| term_start1 = 27 กันยายน 1939
| term_end1 = 4 มิถุนายน 1942
| term_end1 = 4 มิถุนายน 1942
บรรทัด 41: บรรทัด 41:
| predecessor = [[Otto Steinhäusl|ออทโท ชไตน์ฮอยส์]]
| predecessor = [[Otto Steinhäusl|ออทโท ชไตน์ฮอยส์]]
| successor = [[อาร์ธูร์ เนเบอ]]
| successor = [[อาร์ธูร์ เนเบอ]]
| order4 = ผู้อำนวยการ[[เกสตาโพ]]
| order4 = ผู้บัญชาการ[[เกสตาโพ|ตำรวจลับของรัฐ]]
| term_start4 = 22 เมษายน 1934
| term_start4 = 22 เมษายน 1934
| term_end4 = 27 กันยายน 1939
| term_end4 = 27 กันยายน 1939

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:56, 20 สิงหาคม 2564

ไรน์ฮาร์ท ไฮดริช
Reinhard Heydrich
ไรน์ฮาร์ท ไฮดริช ในปี 1940
ประธานตำรวจอาชญากรรมระหว่างประเทศ
ดำรงตำแหน่ง
24 สิงหาคม 1940 – 4 มิถุนายน 1942
ก่อนหน้าออทโท ชไตน์ฮอยส์
ถัดไปอาร์ธูร์ เนเบอ
อธิบดีกรมการใหญ่ความมั่นคงไรช์
ดำรงตำแหน่ง
27 กันยายน 1939 – 4 มิถุนายน 1942
แต่งตั้งโดยไฮน์ริช ฮิมเลอร์
ก่อนหน้าไม่มี
ถัดไปไฮน์ริช ฮิมเลอร์ (รักษาการ)
ผู้บัญชาการตำรวจลับของรัฐ
ดำรงตำแหน่ง
22 เมษายน 1934 – 27 กันยายน 1939
แต่งตั้งโดยไฮน์ริช ฮิมเลอร์
ก่อนหน้ารูดอล์ฟ ดีลส์
ถัดไปไฮน์ริช มึลเลอร์
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด
Reinhard Tristan Eugen Heydrich

7 มีนาคม ค.ศ. 1904(1904-03-07)
ฮัลเลออันแดร์ซาเลอ, จักรวรรดิเยอรมัน
เสียชีวิต4 มิถุนายน ค.ศ. 1942(1942-06-04) (38 ปี)
ปราก-ลีเบน รัฐในอารักขาโบฮีเมียและโมราเวีย
พรรคการเมืองพรรคนาซี
ลายมือชื่อ
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง
รับใช้
แผนก/สังกัด
ประจำการ1922–1942
ชั้นยศ
การยุทธ์สงครามโลกครั้งที่สอง
บำเหน็จSee Service record of Reinhard Heydrich

ไรน์ฮาร์ท ทริสทัน อ็อยเกน ไฮดริช (เยอรมัน: Reinhard Tristan Eugen Heydrich) เป็นเจ้าหน้าที่ระดับสูงของนาซีเยอรมันในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองและสมรู้ร่วมคิดหลักในการล้างชาติโดยนาซี เขาเป็นเจ้าหน้าที่หน่วยเอ็สเอ็ส (ชุทซ์ชทัฟเฟิล) ระดับโอเบอร์กรุพเพินฟือเรอร์ (เทียบเท่าพลโท) และเป็นเจ้าหน้าที่ตำรวจสามัญ และยังเป็นหัวหน้าของทบวงกลางความมั่นคงไรช์ (รวมทั้งทบวงตำรวจลับ, ทบวงตำรวจอาชญากรรม, ทบวงอำนวยความปลอดภัย และทบวงตำรวจความมั่นคง) นอกจากนั้นเขายังเป็นผู้อารักขาไรช์ประจำโบฮีเมียและโมราเวีย (ในดินแดนสาธารณรัฐเช็ก) ไฮดริชทำหน้าที่เป็นประธานขององค์การตำรวจอาชญากรรมระหว่างประเทศ (ICPO,หรือเป็นที่รู้จักคือตำรวจสากล) และเป็นประธานการประชุมวันน์เซในเดือนมกราคม 1942 ที่ได้วางมาตราการแผนสำหรับทางออกของปัญหาชาวยิวคือทำการเนรเทศและสังหารหมู่ชาวยิวในยุโรปที่ถูกเยอรมนียึดครอง

นักประวัติศาสตร์หลายคนได้กล่าวว่าเขาคือบุคคลที่มืดมนที่สุดในระดับสูงของนาซี อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ได้อธิบายว่า เขาคือ"บุรุษที่มีหัวใจดั่งเหล็ก" เขาเป็นผู้ก่อตั้งทบวงตำรวจความมั่นคง (ไซโพ) เขายังช่วยจัดอำนวยความสะดวกในเหตุการณ์ คืนกระจกแตก (Kristallnacht) ชุดปฏิบัติการโจมตีต่อต้านชาวยิวทั้งในเยอรมนีและดินแดนบางส่วนของออสเตรียในวันที่ 9-10 พฤศจิกายน 1938 ชุดปฏิบัติการโจมตีถูกดำเนินงานโดยหน่วยชตูร์มับไทลุง (SA) พร้อมอาสาสมัครพลเรือน และกลายเป็นเครื่องหมายสัญลักณ์ของการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โดยนาซี เมื่อเขาได้ไปยังกรุงปราก, ไฮดริชได้พยายามขจัดความขัดแย้งต่อการปกครองของนาซีเยอรมนีด้วยการทำลายล้างวัฒนธรรมของสาธารณรัฐเช็ก รวมถึงการเนรเทศและประหารชีวิตสมาชิกกลุ่มต่อต้านของเช็ก เขายังเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงของหน่วยไอน์ซัทซกรุพเพน กองกำลังปฏิบัติการภารกิจพิเศษซึ่งได้เดินทางในการปลุกปั่นกองทัพเยอรมันและทำการสังหารหมู่ประชาชนกว่าสองล้านคน รวมไปถึงชาวยิวกว่า 1.3 ล้านคนด้วยการยิงเป้าและรมควันด้วยแก็สพิษ

ในวันที่ 27 พฤษภาคม 1942 ไฮดริชถูกลอบโจมตีบริเวณชายเมืองทางเหนือของปราก ไฮดริชได้รับบาดเจ็บอย่างสาหัสและถูกนำตัวส่งโรงพยาบาลในกรุงปราก การลอบโจมตีนี้ปฏิบัติโดยหน่วยปฏิบัติการพิเศษของอังกฤษซึ่งได้ทำการฝึกทหารคอมมานโดชาวเช็กและชาวสโลวักที่ถูกส่งโดยรัฐบาลพลัดถิ่นเชคโกสโลวาเกียที่ต้องการสังหารเขาในปฏิบัติการแอนโธรพอยด์ ไฮดริชเสียชีวิตจากการบาดเจ็บในสัปดาห์ต่อมา หน่วยสืบราชการของนาซีได้เชื่อมโยงการลอบสังหารไปยังหมู่บ้านลิดยิตแซและแลฌากี ทั้งสองหมู่บ้านถูกทำลายอย่างราบคาบ; ผู้ชายทั้งหมดและเด็กผู้ชายทุกคนอายุกว่า 16 ถูกยิงทิ้ง, และทั้งหมดแต่หนึ่งในจำนวนกำมือของผู้หญิงและเด็กถูกเนรเทศและสังหารในค่ายกักกันของนาซี

อ้างอิง

  • Arad, Yitzhak (1987). Belzec, Sobibor, Treblinka: The Operation Reinhard Death Camps. Bloomington, IN: Indiana University Press. ISBN 978-0-253-34293-5. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • Blandford, Edmund L. (2001). SS Intelligence: The Nazi Secret Service. Edison, NJ: Castle Books. ISBN 0-7858-1398-5. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • Bloxham, Donald (2009). The Final Solution: A Genocide. New York: Oxford University Press. ISBN 978-0-19955-034-0. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • Bracher, Karl Dietrich (1970). The German Dictatorship: The Origins, Structure, and Effects of National Socialism. New York: Praeger. ISBN 978-1-12563-479-0. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • Browder, George C. (2004). Foundations of the Nazi Police State: The Formation of Sipo and SD. Lexington: University Press of Kentucky. ISBN 978-0-8131-1697-6. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • Browning, Christopher R. (2004). The Origins of the Final Solution: The Evolution of Nazi Jewish Policy, September 1939 – March 1942. Comprehensive History of the Holocaust. Lincoln: University of Nebraska Press. ISBN 0-8032-1327-1. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)
  • Bryant, Chad Carl (2007). Prague in Black: Nazi Rule and Czech Nationalism. Cambridge, MA: Harvard University Press. ISBN 978-0-674-02451-9. {{cite book}}: |ref=harv ไม่ถูกต้อง (help)