ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซิมโฟนีหมายเลข 7 (เบทโฮเฟิน)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8
 
บรรทัด 19: บรรทัด 19:
เบทโฮเฟินเป็นผู้อำนวยเพลงรอบปฐมทัศน์ด้วยตัวเองที่[[เวียนนา]] เมื่อวันที่ [[8 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 1813]] <ref name="สุรพงษ์"/> ในการแสดงรอบพิเศษเพื่อการกุศล หารายได้ช่วยเหลือ[[ทหารผ่านศึก]]ที่ได้รับบาดเจ็บจาก[[ยุทธการที่ฮาเนา]] [[รัฐเฮ็สเซิน|แคว้นเฮ็สเซิน]] ระหว่างแนวร่วม[[ราชอาณาจักรบาวาเรีย]]และ[[จักรวรรดิออสเตรีย]] กับ[[จักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 1]] นำโดย[[นโปเลียน โบนาปาร์ต]]
เบทโฮเฟินเป็นผู้อำนวยเพลงรอบปฐมทัศน์ด้วยตัวเองที่[[เวียนนา]] เมื่อวันที่ [[8 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 1813]] <ref name="สุรพงษ์"/> ในการแสดงรอบพิเศษเพื่อการกุศล หารายได้ช่วยเหลือ[[ทหารผ่านศึก]]ที่ได้รับบาดเจ็บจาก[[ยุทธการที่ฮาเนา]] [[รัฐเฮ็สเซิน|แคว้นเฮ็สเซิน]] ระหว่างแนวร่วม[[ราชอาณาจักรบาวาเรีย]]และ[[จักรวรรดิออสเตรีย]] กับ[[จักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 1]] นำโดย[[นโปเลียน โบนาปาร์ต]]


หลังการแสดงครั้งนั้น ผลงานได้รับคำชื่นชมว่าเป็นหนึ่งในผลงานที่ดีที่สุดของเบทโฮเฟิน<ref name=popular>http://web.archive.org/20100912152119/adambrain.wordpress.com/2010/09/06/the-sonata-form-within-the-allegretto-from-beethoven%E2%80%99s-seventh-symphony/</ref> โดยเฉพาะมูฟเมนต์ที่สอง ''"Allegretto"'' ที่มีจังหวะเร่งเร้า มีผู้เปรียบเปรยว่าเป็นเหมือนการประกาศชัยชนะของ[[อาเธอร์ เวลเลสลีย์ ดยุกแห่งเวลลิงตันที่ 1|ดยุกแห่งเวลลิงตัน]]ที่มีต่อ[[โจเซฟ โบนาปาร์ต]] (พี่ชายของนโปเลียน)<ref name="สุรพงษ์">{{user:2T/ref/ดนตรีแห่งชีวิต}}</ref> และนิยมนำกลับมาแสดงซ้ำอยู่เสมอ <ref>http://www.npr.org/templates/story/story.php?storyId=5481664</ref>
หลังการแสดงครั้งนั้น ผลงานได้รับคำชื่นชมว่าเป็นหนึ่งในผลงานที่ดีที่สุดของเบทโฮเฟิน<ref name=popular>{{Cite web |url=http://adambrain.wordpress.com/2010/09/06/the-sonata-form-within-the-allegretto-from-beethoven%E2%80%99s-seventh-symphony/ |title=สำเนาที่เก็บถาวร |access-date=2010-09-12 |archive-date=2010-09-12 |archive-url=https://web.archive.org/web/20100912152119/http://adambrain.wordpress.com/2010/09/06/the-sonata-form-within-the-allegretto-from-beethoven%E2%80%99s-seventh-symphony/ |url-status=dead }}</ref> โดยเฉพาะมูฟเมนต์ที่สอง ''"Allegretto"'' ที่มีจังหวะเร่งเร้า มีผู้เปรียบเปรยว่าเป็นเหมือนการประกาศชัยชนะของ[[อาเธอร์ เวลเลสลีย์ ดยุกแห่งเวลลิงตันที่ 1|ดยุกแห่งเวลลิงตัน]]ที่มีต่อ[[โจเซฟ โบนาปาร์ต]] (พี่ชายของนโปเลียน)<ref name="สุรพงษ์">{{user:2T/ref/ดนตรีแห่งชีวิต}}</ref> และนิยมนำกลับมาแสดงซ้ำอยู่เสมอ <ref>http://www.npr.org/templates/story/story.php?storyId=5481664</ref>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 11:53, 15 สิงหาคม 2564

ซิมโฟนีหมายเลข 7 ในบันไดเสียง เอ เมเจอร์ (อังกฤษ: Symphony No. 7 in A major, Op. 92) ผลงานประพันธ์ของลูทวิช ฟัน เบทโฮเฟินในปี ค.ศ. 1811 แล้วเสร็จเมื่อปี ค.ศ. 1812

เบทโฮเฟินประพันธ์ซิมโฟนีบทนี้ในขณะสุขภาพไม่ดี อยู่ระหว่างการพักผ่อนเพื่อฟื้นฟูร่างกายที่สปาในเมืองแตปลิตแซ บริเวณชายแดนระหว่างแคว้นโบฮีเมียกับแคว้นซัคเซิน ในขณะนั้นยุโรปอยู่ท่ามกลางสงคราม โดยฝรั่งเศสกำลังยึดครองกรุงเวียนนาอยู่

ซิมโฟนีบทนี้มีความยาวประมาณ 37 นาที แบ่งออกเป็น 4 มูฟเมนต์

  • I. Poco sostenuto – Vivace
  • II. Allegretto
  • III. Presto – Assai meno presto (trio)
  • IV. Allegro con brio

เบทโฮเฟินเป็นผู้อำนวยเพลงรอบปฐมทัศน์ด้วยตัวเองที่เวียนนา เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม ค.ศ. 1813 [1] ในการแสดงรอบพิเศษเพื่อการกุศล หารายได้ช่วยเหลือทหารผ่านศึกที่ได้รับบาดเจ็บจากยุทธการที่ฮาเนา แคว้นเฮ็สเซิน ระหว่างแนวร่วมราชอาณาจักรบาวาเรียและจักรวรรดิออสเตรีย กับจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 1 นำโดยนโปเลียน โบนาปาร์ต

หลังการแสดงครั้งนั้น ผลงานได้รับคำชื่นชมว่าเป็นหนึ่งในผลงานที่ดีที่สุดของเบทโฮเฟิน[2] โดยเฉพาะมูฟเมนต์ที่สอง "Allegretto" ที่มีจังหวะเร่งเร้า มีผู้เปรียบเปรยว่าเป็นเหมือนการประกาศชัยชนะของดยุกแห่งเวลลิงตันที่มีต่อโจเซฟ โบนาปาร์ต (พี่ชายของนโปเลียน)[1] และนิยมนำกลับมาแสดงซ้ำอยู่เสมอ [3]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 สุรพงษ์ บุนนาคดนตรีแห่งชีวิต. กรุงเทพ : สารคดี, พิมพ์ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2549. 655 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 974-484-175-3
  2. http://www.npr.org/templates/story/story.php?storyId=5481664

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]