ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นากทะเล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ยุทธาลัย (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ปรับหมวดหมู่
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
| trend = down
| trend = down
| status_system = iucn
| status_system = iucn
| status_ref = <ref name=IUCN2012>{{IUCN|id= 7750|title=''Enhydra lutris'' | assessors= Doroff, A. & Burdin, A.|version=2011 |year=2012 |accessdate=18 January 2012}}</ref>
| status_ref = <ref name=IUCN2012>{{IUCN|id= 7750|title=''Enhydra lutris'' |first1=A. |last1=Doroff |first2=A. |last2=Burdin |version=2011 |year=2012 |accessdate=18 January 2012|ref=}}</ref>
| image = sea otter cropped.jpg
| image = sea otter cropped.jpg
|image_caption =
|image_caption =
บรรทัด 29: บรรทัด 29:
นากทะเลจะอาศัยอยู่บริเวณ[[ชายฝั่ง]] โดยจะดำดิ่งสู่[[พื้นทะเล]]เพื่อหาอาหาร อาหารที่ชอบคือ [[สาหร่ายทะเล]] (ถ้าเป็นสาหร่ายเคลท์จะชอบมาก) [[เม่นทะเล]] [[หอย]]ต่าง ๆ [[กุ้ง]]บางชนิด และ[[ปลา]]บางชนิด นอกจากนี้นากทะเลยังเป็นสัตว์ที่สามารถวัดความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ได้อีกด้วย ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าพฤติกรรมการกินอาหารของนากทะเลที่ใช้หินทุบเปลือกหอยบนหน้าอกตัวเองนั้นเป็นพฤติกรรมที่มีมานานเป็นระยะเวลานับหลายล้านปี ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ โดยถือว่าเป็นพฤติกรรมการกินอาหารที่พัฒนาขึ้นมาจากการกินหรือหาอาหารทั่วไปของสัตว์โลก และเป็นสัตว์ทะเลชนิดแรกที่มีพัฒนาการเช่นนี้ โดยการสังเกตพฤติกรรมแม้แต่ลูกนากทะเลกำพร้าในสถานที่เลี้ยงก็ยังพบว่ามีพฤติกรรมเช่นนี้<ref>จุดประกาย 7 WILD, '' 'หินแกะหอย' วัฒนธรรมล้านปี นากทะเลกินอาหาร''. "Wild UPDATE". '''กรุงเทพธุรกิจ'''ปีที่ 29 ฉบับที่ 10420: วันจันทร์ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2560</ref>
นากทะเลจะอาศัยอยู่บริเวณ[[ชายฝั่ง]] โดยจะดำดิ่งสู่[[พื้นทะเล]]เพื่อหาอาหาร อาหารที่ชอบคือ [[สาหร่ายทะเล]] (ถ้าเป็นสาหร่ายเคลท์จะชอบมาก) [[เม่นทะเล]] [[หอย]]ต่าง ๆ [[กุ้ง]]บางชนิด และ[[ปลา]]บางชนิด นอกจากนี้นากทะเลยังเป็นสัตว์ที่สามารถวัดความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ได้อีกด้วย ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าพฤติกรรมการกินอาหารของนากทะเลที่ใช้หินทุบเปลือกหอยบนหน้าอกตัวเองนั้นเป็นพฤติกรรมที่มีมานานเป็นระยะเวลานับหลายล้านปี ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ โดยถือว่าเป็นพฤติกรรมการกินอาหารที่พัฒนาขึ้นมาจากการกินหรือหาอาหารทั่วไปของสัตว์โลก และเป็นสัตว์ทะเลชนิดแรกที่มีพัฒนาการเช่นนี้ โดยการสังเกตพฤติกรรมแม้แต่ลูกนากทะเลกำพร้าในสถานที่เลี้ยงก็ยังพบว่ามีพฤติกรรมเช่นนี้<ref>จุดประกาย 7 WILD, '' 'หินแกะหอย' วัฒนธรรมล้านปี นากทะเลกินอาหาร''. "Wild UPDATE". '''กรุงเทพธุรกิจ'''ปีที่ 29 ฉบับที่ 10420: วันจันทร์ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2560</ref>


ในอดีตจำนวนากทะเลอยูที่ประมาณ 1,000–2,000 ตัวเท่านั้นเพราะ[[ถูกล่า]]อย่างหนักในปี ค.ศ. 1741–1911<ref>{{cite report |title=The sea otter (Enhydra lutris): behavior, ecology, and natural history |authors=Riedman, M.L. and J.A. Estes |journal=U.S. Fish and Wildlife Service Biological Report |year=1990 |pages=126 |location=Washington, D.C. |url=http://www.fort.usgs.gov/Products/Publications/pub_abstract.asp?PubID=2183 |accessdate=2010-09-27 }}</ref> ต่อมามี[[สนธิสัญญาระหว่างประเทศ]]ในการห้ามล่า และให้[[อนุรักษ์]]นากทะเล จึงส่งผลให้จำนวนนากทะเลเพิ่มขึ้นเป็น 150,000–300,000 ตัว นับเป็นความสำเร็จในการอนุรักษ์นากทะเล แต่ปัจจุบันจำนวนนากทะเลได้ลดลงอีกครั้ง นากทะเลจึงเป็นเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทางทะเลที่ใกล้[[สูญพันธุ์]]<ref>Doroff, A. & Burdin, A. (2011). "Enhydra lutris". IUCN Red List of Threatened Species. Version 2011.2. International Union for Conservation of Nature. Retrieved 18 January 2012.</ref>
ในอดีตจำนวนากทะเลอยูที่ประมาณ 1,000–2,000 ตัวเท่านั้นเพราะ[[ถูกล่า]]อย่างหนักในปี ค.ศ. 1741–1911<ref>{{cite report |title=The sea otter (Enhydra lutris): behavior, ecology, and natural history |author1=Riedman, M.L. |author2= J.A. Estes |journal=U.S. Fish and Wildlife Service Biological Report |year=1990 |pages=126 |location=Washington, D.C. |url=http://www.fort.usgs.gov/Products/Publications/pub_abstract.asp?PubID=2183 |accessdate=2010-09-27 }}</ref> ต่อมามี[[สนธิสัญญาระหว่างประเทศ]]ในการห้ามล่า และให้[[อนุรักษ์]]นากทะเล จึงส่งผลให้จำนวนนากทะเลเพิ่มขึ้นเป็น 150,000–300,000 ตัว นับเป็นความสำเร็จในการอนุรักษ์นากทะเล แต่ปัจจุบันจำนวนนากทะเลได้ลดลงอีกครั้ง นากทะเลจึงเป็นเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทางทะเลที่ใกล้[[สูญพันธุ์]]<ref>Doroff, A. & Burdin, A. (2011). "Enhydra lutris". IUCN Red List of Threatened Species. Version 2011.2. International Union for Conservation of Nature. Retrieved 18 January 2012.</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 36: บรรทัด 36:
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{wikispecies-inline|Enhydra lutris}}
{{wikispecies-inline|Enhydra lutris}}
*{{Commons category-inline|Enhydra lutris|นากทะเล}}
*{{คอมมอนส์-หมวดหมู่-บรรทัด|Enhydra lutris|นากทะเล}}
* [https://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt?search_topic=TSN&search_value=180547 ''Enhydra lutris'' (Linnaeus, 1758)] ที่ the [[Integrated Taxonomic Information System]]
* [http://www.marinespecies.org/aphia.php?p=taxdetails&id=242598 ''Enhydra lutris'' (Linnaeus, 1758)] ที่ the [[World Register of Marine Species]]
* [http://digitalcommons.unl.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=1019&context=libraryscience De Bestiis Marinis, or, The Beasts of the Sea (1751)] ([[Portable Document Format|PDF]]), pp.&nbsp;68–82, transcribed field notes from 18th-century German zoologist [[Georg Wilhelm Steller]]
* [http://online.wr.usgs.gov/outreach/otter/ Precipice of Survival: The Southern Sea Otter] ([[Adobe Flash]]), a 48-minute program on the southern sea otter's history โดย the [[United States Geological Survey]]


{{วงศ์เพียงพอน|state=expanded}}


{{วงศ์เพียงพอน|state=collapsed}}
{{Taxonbar |from=Q41407}}
{{Authority control}}
[[หมวดหมู่:นาก|ท]]
[[หมวดหมู่:นาก|ท]]
[[หมวดหมู่:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทางทะเล]]
[[หมวดหมู่:สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทางทะเล]]
[[หมวดหมู่:สัตว์ที่พบในประเทศญี่ปุ่น]]
[[หมวดหมู่:สัตว์ที่พบในประเทศญี่ปุ่น]]
[[หมวดหมู่:สัตว์ที่พบในทวีปอเมริกาเหนือ]]
[[หมวดหมู่:สัตว์ที่พบในทวีปอเมริกาเหนือ]]
[[หมวดหมู่:สัตว์กินเนื้อไพลสะโตซีน]]
[[หมวดหมู่:สัตว์กินเนื้อไพลสโตซีน]]
{{โครงสัตว์}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:00, 31 กรกฎาคม 2564

สำหรับนากทะเลที่อยู่ในสกุล Lontra ดูที่: นากทะเลอเมริกาใต้

นากทะเล
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ไฟลัมย่อย: Vertebrata
ชั้น: Mammalia
อันดับ: Carnivora
วงศ์: Mustelidae
วงศ์ย่อย: Lutrinae
สกุล: Enhydra
Fleming, 1828
สปีชีส์: E.  lutris
ชื่อทวินาม
Enhydra lutris
(Linnaeus, 1758)
สถานที่พบกระจายพันธุ์

นากทะเล (อังกฤษ: Sea otters; ชื่อวิทยาศาสตร์: Enhydra lutris) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทางทะเล ประเภทหนึ่งโดยอาศัยอยู่บริเวณชายฝั่งตอนเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือของมหาสมุทรแปซิฟิก ในวัยเจริญพันธุ์จะมีน้ำหนักประมาณ 14–45 กิโลกรัม (31–99 ปอนด์) นากทะเลเป็นสัตว์ในวงศ์เพียงพอน (Mustelidae) ชนิดหนึ่ง และเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทางทะเลที่มีขนาดเล็กที่สุดอีกด้วย นากทะเลนั้นไม่เหมือนสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทางทะเลทั่วไปเพราะมีฉนวนกันความร้อนด้วยขนที่หนาแน่น จึงทำให้นากทะเลสามารถหาอาหารในทะเลเป็นเวลานาน ๆ ได้

นากทะเลจะอาศัยอยู่บริเวณชายฝั่ง โดยจะดำดิ่งสู่พื้นทะเลเพื่อหาอาหาร อาหารที่ชอบคือ สาหร่ายทะเล (ถ้าเป็นสาหร่ายเคลท์จะชอบมาก) เม่นทะเล หอยต่าง ๆ กุ้งบางชนิด และปลาบางชนิด นอกจากนี้นากทะเลยังเป็นสัตว์ที่สามารถวัดความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ได้อีกด้วย ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าพฤติกรรมการกินอาหารของนากทะเลที่ใช้หินทุบเปลือกหอยบนหน้าอกตัวเองนั้นเป็นพฤติกรรมที่มีมานานเป็นระยะเวลานับหลายล้านปี ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ โดยถือว่าเป็นพฤติกรรมการกินอาหารที่พัฒนาขึ้นมาจากการกินหรือหาอาหารทั่วไปของสัตว์โลก และเป็นสัตว์ทะเลชนิดแรกที่มีพัฒนาการเช่นนี้ โดยการสังเกตพฤติกรรมแม้แต่ลูกนากทะเลกำพร้าในสถานที่เลี้ยงก็ยังพบว่ามีพฤติกรรมเช่นนี้[2]

ในอดีตจำนวนากทะเลอยูที่ประมาณ 1,000–2,000 ตัวเท่านั้นเพราะถูกล่าอย่างหนักในปี ค.ศ. 1741–1911[3] ต่อมามีสนธิสัญญาระหว่างประเทศในการห้ามล่า และให้อนุรักษ์นากทะเล จึงส่งผลให้จำนวนนากทะเลเพิ่มขึ้นเป็น 150,000–300,000 ตัว นับเป็นความสำเร็จในการอนุรักษ์นากทะเล แต่ปัจจุบันจำนวนนากทะเลได้ลดลงอีกครั้ง นากทะเลจึงเป็นเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทางทะเลที่ใกล้สูญพันธุ์[4]

อ้างอิง

  1. Doroff, A.; Burdin, A. (2012). "Enhydra lutris". IUCN Red List of Threatened Species. Version 2011. สืบค้นเมื่อ 18 January 2012.
  2. จุดประกาย 7 WILD, 'หินแกะหอย' วัฒนธรรมล้านปี นากทะเลกินอาหาร. "Wild UPDATE". กรุงเทพธุรกิจปีที่ 29 ฉบับที่ 10420: วันจันทร์ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2560
  3. Riedman, M.L.; J.A. Estes (1990). The sea otter (Enhydra lutris): behavior, ecology, and natural history. U.S. Fish and Wildlife Service Biological Report (Report). Washington, D.C. p. 126. สืบค้นเมื่อ 2010-09-27.
  4. Doroff, A. & Burdin, A. (2011). "Enhydra lutris". IUCN Red List of Threatened Species. Version 2011.2. International Union for Conservation of Nature. Retrieved 18 January 2012.

แหล่งข้อมูลอื่น

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Enhydra lutris ที่วิกิสปีชีส์