ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาลพระภูมิ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[File:Thai spirit houses duo.jpg|thumb|ศาลพระภูมิเจ้าที่แหน่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร]]
[[ไฟล์:Thai spirit houses duo.jpg|thumb|ศาลพระภูมิเจ้าที่แหน่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร]]
'''ศาล[[พระภูมิ]]''' หมายถึง [[สักการสถาน|ศาล]]ที่สร้างขึ้นเพื่อให้เป็นที่สถิตของ[[เทพารักษ์]]<ref>[[ราชบัณฑิตยสถาน]], ''[[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว'', กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 1141</ref> พบได้ทั่วไปใน[[ประเทศไทย]] และยังพบว่ามีปรากฏใน[[ประเทศลาว]]และ[[ประเทศกัมพูชา]]อีกด้วย มีลักษณะเป็นบ้านหรือวิหารหลังเล็กตั้งอยู่บนเสาเดี่ยว หรือปะรำทำจากปูนหรือไม้เป็นต้น ตั้งไว้ในจุดที่เชื่อว่าเป็นมงคล ซึ่งมักจะอยู่ริมรั้วหรือมุมหนึ่งนอกบ้าน และบ้านหนึ่งก็อาจมีศาลพระภูมิมากกว่าหนึ่งหลัง
'''ศาล[[พระภูมิ]]''' หมายถึง [[สักการสถาน|ศาล]]ที่สร้างขึ้นเพื่อให้เป็นที่สถิตของ[[เทพารักษ์]]<ref>[[ราชบัณฑิตยสถาน]], ''[[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว'', กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 1141</ref> พบได้ทั่วไปใน[[ประเทศไทย]] และยังพบว่ามีปรากฏใน[[ประเทศลาว]]และ[[ประเทศกัมพูชา]]อีกด้วย มีลักษณะเป็นบ้านหรือวิหารหลังเล็กตั้งอยู่บนเสาเดี่ยว หรือปะรำทำจากปูนหรือไม้เป็นต้น ตั้งไว้ในจุดที่เชื่อว่าเป็นมงคล ซึ่งมักจะอยู่ริมรั้วหรือมุมหนึ่งนอกบ้าน และบ้านหนึ่งก็อาจมีศาลพระภูมิมากกว่าหนึ่งหลัง



รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:38, 22 พฤษภาคม 2564

ศาลพระภูมิเจ้าที่แหน่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร

ศาลพระภูมิ หมายถึง ศาลที่สร้างขึ้นเพื่อให้เป็นที่สถิตของเทพารักษ์[1] พบได้ทั่วไปในประเทศไทย และยังพบว่ามีปรากฏในประเทศลาวและประเทศกัมพูชาอีกด้วย มีลักษณะเป็นบ้านหรือวิหารหลังเล็กตั้งอยู่บนเสาเดี่ยว หรือปะรำทำจากปูนหรือไม้เป็นต้น ตั้งไว้ในจุดที่เชื่อว่าเป็นมงคล ซึ่งมักจะอยู่ริมรั้วหรือมุมหนึ่งนอกบ้าน และบ้านหนึ่งก็อาจมีศาลพระภูมิมากกว่าหนึ่งหลัง

การบวงสรวงศาลพระภูมิเป็นการถวายพวงมาลัย ดอกไม้ และอาหาร ให้กับวิญญาณที่สถิตอยู่ในศาล ซึ่งมักจะทำก่อนพิธีกรรมของบ้านนั้นหรือเนื่องในวันสำคัญ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, กรุงเทพพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556, หน้า 1141

แหล่งข้อมูลอื่น