ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยเชียงใหม่"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21: บรรทัด 21:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
{{มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทยที่ตั้งขึ้นในส่วนภูมิภาคและ
{{โครง-ส่วน}}<!--ลบคำว่า โครง-ส่วน ออก เมื่อมีการเพิ่มข้อมูลรวมทั้งส่วนนี้-->
เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกที่เรียกชื่อตามชื่อเมือง ปัจจุบันมหาวิทยาลัยนี้ตั้งอยู่เชิงดอยสุเทพ
อำเภอเมือง เชียงใหม่ ขนาบด้วยถนนห้วยแก้ว และถนนสุเทพ ห่างจากตัวเมืองประมาณ 4 ก.ม.
และมีเนื้อที่ประมาณ 2,000 ไร่เศษ เปิดทำการสอน เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ.2507
ความเป็นมา
ปี พ.ศ.2484 รัฐบาลมีนโยบายที่จะจัดตั้งมหาวิทยาลัยในส่วนภูมิภาคขึ้นแต่เกิดสงครามโลก ครั้งที่ 2 การดำเนินงานจึงชะงักลง ต่อมาในปี พ.ศ.2501 รัฐบาลชุดจอมพลถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายเกี่ยวกับการศึกษาว่า " จะดำเนินการพัฒนาการศึกษาในส่วนภูมิภาค ตลอดถึงการศึกษาชั้นสูง "
พ.ศ.2502 ได้มีการประชุมโครงการพัฒนาการศึกษาในส่วนภูมิภาค ภาคการศึกษา 8 ณ จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ม.ล.ปิ่น มาลากุล) เป็นประธาน ที่ประชุมมีความเห็นว่า " น่าจะจัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นที่จังหวัดเชียงใหม่ "
พ.ศ.2503 รัฐบาลชุด จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ได้ลงมติอนุมัติให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรียกชื่อมหาวิทยาลัยนี้ว่า มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้

1. เพื่อเป็นการสนองนโยบายของรัฐบาลเกี่ยวกับการพัฒนาภาคเหนือ ทั้งด้านการศึกษาและวิชาชีพ
2. ต้องการให้มหาวิทยาลัยแห่งนี้ เป็นมหาวิทยาลัยที่สมบูรณ์มีคณะ/ภาควิชา ต่าง ๆ เปิดสอนครบถ้วนตามหลักสากล
3. นอกจากจะเป็นสถาบันสำหรับการศึกษา และวิจัยแล้ว เหตุผลอีกอย่างหนึ่งคือ ต้องการสร้างความรอบรู้และสร้างนิสัยให้แก่นักศึกษาด้วย


มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เริ่มเปิดทำการสอนเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ.2507พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเป็นองค์ประธาน ในพิธีเปิดมหาวิทยาลัย เป็นทางการเมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ.2508 ในระยะเริ่มต้นได้เปิดดำเนินการสอนเพียง 3 คณะ ที่เป็นรากฐานของทุกสาขาวิชาคือ คณะมนุษยศาสตร์คณะสังคมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์ต่อมาในปีพ.ศ.2508ได้รับโอนกิจการคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลนครเชียงใหม่จากมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ มาเป็นคณะแพทยศาสตร์สังกัดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในปีเดียวกันนี้เอง ได้เริ่มจัดตั้งคณะเกษตรศาสตร์ขึ้นอีกคณะหนึ่ง นปีการศึกษา 2511 ได้จัดตั้งคณะศึกษาศาสตร์ และในปีการศึกษา 2513 ได้จัดตั้งคณะใหม่อีก คือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ต่อมาในปี พ.ศ.2515จึงได้จัดตั้งเพิ่มขึ้นอีก 3 คณะคือ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ และคณะพยาบาลศาสตร์ปัจจุบันนี้มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีคณะทั้งหมดด้วยกัน 17 คณะ โดยในปี พ.ศ. 2518ได้จัดตั้งคณะเทคนิคการแพทย์เพิ่มขึ้นและตั้งบัณฑิตวิทยาลัยเมื่อปีพ.ศ.2519เพื่อเป็นหน่วยประสานงานด้านการเรียนการสอนและมาตรฐานหลักสูตรขั้นบัณฑิตศึกษามีฐานะเทียบเท่าคณะหนึ่งแต่การดำเนินงานด้านการสอนและการวิจัยซึ่งกระทำโดยคณาจารย์ของคณะ และได้มีการจัดตั้งคณะวิจิตรศิลป์ขึ้น ในปี พ.ศ.2525 เปิดรับนักศึกษาตั้งแต่ปีการศึกษา 2526 ในปี 2536 ได้จัดตั้งคณะเพิ่มขึ้นอีก3 คณะคือคณะเศรษฐศาสตร์คณะบริหารธุรกิจและคณะอุตสาหกรรมเกษตร และในปี พ.ศ. 2538 ได้จัดตั้งคณะเพิ่มอีก 1 คณะคือคณะสัตวแพทยศาสตร์ และในปี พ.ศ. 2543 ได้มีการจัดตั้งคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ขึ้นเป็นคณะที่ 17

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จึงเป็นมหาวิทยาลัยที่สมบูรณ์แบบ คือเปิดสอนวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงทุกสาขาวิชา ตามหลักของ UNESCO ดังที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้แต่เดิมมา

}}


== พื้นที่ในมหาวิทยาลัย==
== พื้นที่ในมหาวิทยาลัย==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:38, 31 ธันวาคม 2548

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Chiangmai
คติพจน์"อตฺตานํ ทมยนฺติ ปณฺฑิตา"
(บัณฑิตทั้งหลายย่อมฝึกฝนตนเอง)
ประเภทรัฐบาล
สถาปนาพ.ศ. 2508

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาคแห่งแรกของประเทศไทย โดยใช้ชื่อตามจังหวัดเป็นแห่งแรก เป็นศูนย์กลางการศึกษาของภาคเหนือ ตั้งอยู่ที่อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

ประวัติ

{{มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทยที่ตั้งขึ้นในส่วนภูมิภาคและ เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกที่เรียกชื่อตามชื่อเมือง ปัจจุบันมหาวิทยาลัยนี้ตั้งอยู่เชิงดอยสุเทพ อำเภอเมือง เชียงใหม่ ขนาบด้วยถนนห้วยแก้ว และถนนสุเทพ ห่างจากตัวเมืองประมาณ 4 ก.ม. และมีเนื้อที่ประมาณ 2,000 ไร่เศษ เปิดทำการสอน เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ.2507

ความเป็นมา

ปี พ.ศ.2484 รัฐบาลมีนโยบายที่จะจัดตั้งมหาวิทยาลัยในส่วนภูมิภาคขึ้นแต่เกิดสงครามโลก ครั้งที่ 2 การดำเนินงานจึงชะงักลง ต่อมาในปี พ.ศ.2501 รัฐบาลชุดจอมพลถนอม กิตติขจร เป็นนายกรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบายเกี่ยวกับการศึกษาว่า " จะดำเนินการพัฒนาการศึกษาในส่วนภูมิภาค ตลอดถึงการศึกษาชั้นสูง " พ.ศ.2502 ได้มีการประชุมโครงการพัฒนาการศึกษาในส่วนภูมิภาค ภาคการศึกษา 8 ณ จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (ม.ล.ปิ่น มาลากุล) เป็นประธาน ที่ประชุมมีความเห็นว่า " น่าจะจัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นที่จังหวัดเชียงใหม่ " พ.ศ.2503 รัฐบาลชุด จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ได้ลงมติอนุมัติให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรียกชื่อมหาวิทยาลัยนี้ว่า มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้

1. เพื่อเป็นการสนองนโยบายของรัฐบาลเกี่ยวกับการพัฒนาภาคเหนือ ทั้งด้านการศึกษาและวิชาชีพ 2. ต้องการให้มหาวิทยาลัยแห่งนี้ เป็นมหาวิทยาลัยที่สมบูรณ์มีคณะ/ภาควิชา ต่าง ๆ เปิดสอนครบถ้วนตามหลักสากล 3. นอกจากจะเป็นสถาบันสำหรับการศึกษา และวิจัยแล้ว เหตุผลอีกอย่างหนึ่งคือ ต้องการสร้างความรอบรู้และสร้างนิสัยให้แก่นักศึกษาด้วย



         มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เริ่มเปิดทำการสอนเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ.2507พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเป็นองค์ประธาน ในพิธีเปิดมหาวิทยาลัย เป็นทางการเมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ.2508 ในระยะเริ่มต้นได้เปิดดำเนินการสอนเพียง 3 คณะ ที่เป็นรากฐานของทุกสาขาวิชาคือ คณะมนุษยศาสตร์คณะสังคมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์ต่อมาในปีพ.ศ.2508ได้รับโอนกิจการคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลนครเชียงใหม่จากมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ มาเป็นคณะแพทยศาสตร์สังกัดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในปีเดียวกันนี้เอง ได้เริ่มจัดตั้งคณะเกษตรศาสตร์ขึ้นอีกคณะหนึ่ง นปีการศึกษา 2511 ได้จัดตั้งคณะศึกษาศาสตร์ และในปีการศึกษา 2513 ได้จัดตั้งคณะใหม่อีก คือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ต่อมาในปี พ.ศ.2515จึงได้จัดตั้งเพิ่มขึ้นอีก 3 คณะคือ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ และคณะพยาบาลศาสตร์ปัจจุบันนี้มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีคณะทั้งหมดด้วยกัน 17 คณะ โดยในปี พ.ศ. 2518ได้จัดตั้งคณะเทคนิคการแพทย์เพิ่มขึ้นและตั้งบัณฑิตวิทยาลัยเมื่อปีพ.ศ.2519เพื่อเป็นหน่วยประสานงานด้านการเรียนการสอนและมาตรฐานหลักสูตรขั้นบัณฑิตศึกษามีฐานะเทียบเท่าคณะหนึ่งแต่การดำเนินงานด้านการสอนและการวิจัยซึ่งกระทำโดยคณาจารย์ของคณะ และได้มีการจัดตั้งคณะวิจิตรศิลป์ขึ้น ในปี พ.ศ.2525 เปิดรับนักศึกษาตั้งแต่ปีการศึกษา 2526 ในปี 2536 ได้จัดตั้งคณะเพิ่มขึ้นอีก3 คณะคือคณะเศรษฐศาสตร์คณะบริหารธุรกิจและคณะอุตสาหกรรมเกษตร และในปี พ.ศ. 2538 ได้จัดตั้งคณะเพิ่มอีก 1 คณะคือคณะสัตวแพทยศาสตร์ และในปี พ.ศ. 2543 ได้มีการจัดตั้งคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ขึ้นเป็นคณะที่ 17 
         มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จึงเป็นมหาวิทยาลัยที่สมบูรณ์แบบ คือเปิดสอนวิชาการและวิชาชีพชั้นสูงทุกสาขาวิชา ตามหลักของ UNESCO ดังที่ได้ตั้งเป้าหมายไว้แต่เดิมมา


}}

พื้นที่ในมหาวิทยาลัย

นโยบาย

ปณิธาน

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดตั้งขึ้นตามนโยบายของรัฐและเจตนารมณ์ของประชาชนในภาคเหนือ ให้เป็นศูนย์กลางทางวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง เพื่ออำนวยประโยชน์แก่ท้องถิ่นและประเทศชาติโดยส่วนรวม มหาวิทยาลัยแห่งนี้เป็นแหล่งสะสม ค้นคว้า วิจัย และถ่ายทอดความรู้ ตามหลักแห่งเสรีภาพทางวิชาการ โดยยึดมั่นในสัจธรรมและคุณธรรม เพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ การประยุกต์ เผยแพร่ และการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม บัณฑิตแห่งมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พึงฝักใฝ่ในการฝึกตนเป็นผู้รู้จริง คิดเป็น ปฏิบัติได้ สามารถครองตน และครองงาน ด้วยมโนธรรม และจิตสำนึกต่อ...

วิสัยทัศน์

“ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำที่มุ่งเน้นการวิจัย การผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ มีความเป็นเลิศทางวิชาการ มีระบบการบริหารจัดการที่ดี และจัดหาทรัพยากรเพื่อการพัฒนา และการพึ่งพาตนเองได้ ”

พันธกิจ

  1. จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาและวิชาชีพชั้นสูง โดยมุ่งเน้นความเป็นเลิศทางวิชาการและคุณภาพตามมาตรฐานสากล
  2. ผลิตผลงานวิจัยทั้งระดับพื้นฐานและประยุกต์ในสาขาต่าง ๆ เพื่อสามารถนำไปแก้ไขปัญหาและพัฒนาสังคมของประเทศ
  3. ให้บริการวิชาการแก่สังคมเพื่อตอบสนองความต้องการของประเทศและท้องถิ่นภาคเหนือ
  4. ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมเพื่อรักษาความเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นและสภาพแวดล้อม
  5. ปรับเปลี่ยนการบริหารและจัดการในทุก ๆ ด้านเพื่อรองรับความเป็นอิสระในการบริหารจัดการหรือการเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ
  6. มุ่งหารายได้ให้เพียงพอกับการพัฒนามหาวิทยาลัยโดยรวม
  7. ผสานประโยชน์ระหว่างมหาวิทยาลัยกับหน่วยราชการ รัฐวิสาหกิจ ธุรกิจเอกชน องค์กรศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และชุมชมท้องถิ่นได้อย่างกลมลืนและเหมาะสม

บุคคลสำคัญจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ศิษย์เก่า

อาจารย์

ปริญญากิตติมศักดิ์

ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ปริญญาที่มอบให้บุคคลไม่ได้เข้าศึกษาแต่ได้ทำผลงานดีเด่นให้แก่มหาวิทยาลัยหรือประเทศ

คณะวิชา

ลิงก์ภายนอก

ศูนย์และสถาบันวิจัย

ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีชีวภาพด้านพืช - ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีชีวภาพระดับโมเลกุล - ศูนย์วิจัยนิวตรอนและเทคโนโลยีรังสี - ศูนย์วิจัยพลังงานและเทคโนโลยีที่เหมาะสม - ศูนย์วิจัยวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว - ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีและวัสดุ - ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีเซรามิกส์ - ศูนย์วิจัยและพัฒนาวัตถุดิบยา เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ - ศูนย์วิจัยอิเล็คทรอนิกส์ประยุกต์และคอมพิวเตอร์ - ศูนย์วิจัยความหลากหลายทางชีวภาพและชีววิทยาชาติพันธุ์ - ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยเฉพาะทาง -