ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อินเจนูอิตี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thitut (คุย | ส่วนร่วม)
Removed unnecessary space
AekwatNs (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 47: บรรทัด 47:




ยานสำรวจดาวอังคารนั้นคาดการณ์ว่าจะขับเคลื่อนออกมาประมาณ {{cvt|100|m}} จากเฮลิคอปเตอร์เพื่อให้มี "เขตกันชน" ซึ่งจะเป็นเขตที่มันจะทดลองบิน<ref>[http://www.ibtimes.com/nasas-mars-helicopter-small-autonomous-rotorcraft-fly-red-planet-2680575 "NASA's Mars Helicopter: Small, Autonomous Rotorcraft To Fly On Red Planet"] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20180710011219/http://www.ibtimes.com/nasas-mars-helicopter-small-autonomous-rotorcraft-fly-red-planet-2680575|date=10 July 2018}}, Shubham Sharma, ''International Business Times'', 14 May 2018</ref><ref name="Universe2018">{{cite web|date=July 2018|title=Mars Helicopter a new challenge for flight |url=https://www.jpl.nasa.gov/universe/archive/universe1807.pdf|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20200101170951/https://www.jpl.nasa.gov/universe/archive/universe1807.pdf|archive-date=1 January 2020|access-date=20 July 2018|publisher=NASA}} {{PD-notice}}</ref> ''อินเจนูอิตี''นั้นถูกคาดว่าจะบินได้ถึงห้าครั้งระหว่างช่วงทดสอบ 30 วัน ซึ่งถูกวางแผนไว้ให้ปฏิบัติในช่วงต้นของภารกิจของยานสำรวจดาวอังคาร โดยส่วนใหญ่เป็นการสาธิตเทคโนโลยี<ref name='landing press kit'/><ref name="spacenews 20180504">[http://spacenews.com/decision-expected-soon-on-adding-helicopter-to-mars-2020/ Decision expected soon on adding helicopter to Mars 2020], Jeff Fout, ''SpaceNews'' 4 May 2018</ref> โดยการบินแต่ละครั้งนั้นถูกวางแผนให้บินที่ความสูงตั้งแต่ {{cvt|3|-|5|m|0}} เหนือพื้นดิน.<ref name='landing press kit'/> เป็นเวลาถึง 90 วินาที ต่อครั้ง เฮลิคอปเตอร์''อินเจนูอิตี'' ซึ่งสามารถเดินทางในแนวราบได้ {{cvt|50|m}} และกลับมายังจุดเริ่มต้น<ref name='landing press kit'/> จะใช้[[หุ่นยนต์อัตโนมัติ|ระบบควบคุมอัตโนมัติ]] ระหว่างช่วงการบินสั้น ๆ ของมันจะถูกวางแผนด้วยการ[[การควบคุมหุ่นยนต์ทางไกล]] เขียนขั้นตอนการทำงานโดยผู้ดำเนินการ ณ [[ห้องปฏิบัติการแรงขับเคลื่อนไอพ่น]] (เจพีแอล) มันจะสื่อสารโดยตรงกับ ยานสำรวจ''เพอร์เซเวียแรนส์''หลังจากการลงจอดแต่ละครั้ง ใบพัดของมันปลดจำกัดได้สำเร็จในวันที่ 8 เมษายน พ.ศ.2564 ไม่กี่วันหลังจากถูกปล่อยลงพื้นผิวจาก''เพอร์เซเวียแรนส์''<ref>{{cite news|url=https://www.independent.co.uk/life-style/gadgets-and-tech/nasa-mars-ingenuity-helicopter-perseverance-rover-b1828663.html|title=NASA Unlocks Mars Helicopter’s Rotor Blades Ahead Of Pioneering Ingenuity Flight|first=Andrew|last=Griffith|publisher=The Independent|date=April 8, 2021|access-date=April 8, 2021}}</ref><ref>{{cite news|url=https://www.space.com/mars-helicopter-ingenuity-unlocks-rotor-blades|title=Mars helicopter Ingenuity unlocks its rotor blades to prepare for 1st flight on Red Planet|first=Meghan|last=Bartels|publisher=Space.com|date=April 8, 2021|access-date=April 8, 2021}}</ref>
ยานสำรวจดาวอังคารนั้นคาดการณ์ว่าจะขับเคลื่อนออกมาประมาณ {{cvt|100|m}} จากเฮลิคอปเตอร์เพื่อให้มี "เขตกันชน" ซึ่งจะเป็นเขตที่มันจะทดลองบิน<ref>[http://www.ibtimes.com/nasas-mars-helicopter-small-autonomous-rotorcraft-fly-red-planet-2680575 "NASA's Mars Helicopter: Small, Autonomous Rotorcraft To Fly On Red Planet"] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20180710011219/http://www.ibtimes.com/nasas-mars-helicopter-small-autonomous-rotorcraft-fly-red-planet-2680575|date=10 July 2018}}, Shubham Sharma, ''International Business Times'', 14 May 2018</ref><ref name="Universe2018">{{cite web|date=July 2018|title=Mars Helicopter a new challenge for flight |url=https://www.jpl.nasa.gov/universe/archive/universe1807.pdf|url-status=live|archive-url=https://web.archive.org/web/20200101170951/https://www.jpl.nasa.gov/universe/archive/universe1807.pdf|archive-date=1 January 2020|access-date=20 July 2018|publisher=NASA}} {{PD-notice}}</ref> ''อินเจนูอิตี''นั้นถูกคาดว่าจะบินได้ถึงห้าครั้งระหว่างช่วงทดสอบ 30 วัน ซึ่งถูกวางแผนไว้ให้ปฏิบัติในช่วงต้นของภารกิจของยานสำรวจดาวอังคาร โดยส่วนใหญ่เป็นการสาธิตเทคโนโลยี<ref name='landing press kit'/><ref name="spacenews 20180504">[http://spacenews.com/decision-expected-soon-on-adding-helicopter-to-mars-2020/ Decision expected soon on adding helicopter to Mars 2020], Jeff Fout, ''SpaceNews'' 4 May 2018</ref> โดยการบินแต่ละครั้งนั้นถูกวางแผนให้บินที่ความสูงตั้งแต่ {{cvt|3|-|5|m|0}} เหนือพื้นดิน.<ref name='landing press kit'/> เป็นเวลาถึง 90 วินาที ต่อครั้ง เฮลิคอปเตอร์''อินเจนูอิตี'' ซึ่งสามารถเดินทางในแนวราบได้ {{cvt|50|m}} และกลับมายังจุดเริ่มต้น<ref name='landing press kit'/> จะใช้[[หุ่นยนต์อัตโนมัติ|ระบบควบคุมอัตโนมัติ]] ระหว่างช่วงการบินสั้น ๆ ของมันจะถูกวางแผนด้วยการ[[การควบคุมหุ่นยนต์ทางไกล]] เขียนขั้นตอนการทำงานโดยผู้ดำเนินการ ณ [[ห้องปฏิบัติการแรงขับเคลื่อนไอพ่น]] (เจพีแอล) มันจะสื่อสารโดยตรงกับ ยานสำรวจ''เพอร์เซเวียแรนส์''หลังจากการลงจอดแต่ละครั้ง ใบพัดของมันปลดออกได้สำเร็จในวันที่ 8 เมษายน พ.ศ.2564 ไม่กี่วันหลังจากถูกปล่อยลงพื้นผิวจาก''เพอร์เซเวียแรนส์''<ref>{{cite news|url=https://www.independent.co.uk/life-style/gadgets-and-tech/nasa-mars-ingenuity-helicopter-perseverance-rover-b1828663.html|title=NASA Unlocks Mars Helicopter’s Rotor Blades Ahead Of Pioneering Ingenuity Flight|first=Andrew|last=Griffith|publisher=The Independent|date=April 8, 2021|access-date=April 8, 2021}}</ref><ref>{{cite news|url=https://www.space.com/mars-helicopter-ingenuity-unlocks-rotor-blades|title=Mars helicopter Ingenuity unlocks its rotor blades to prepare for 1st flight on Red Planet|first=Meghan|last=Bartels|publisher=Space.com|date=April 8, 2021|access-date=April 8, 2021}}</ref>


หาก''อินเจนูอิตี'' ทำงานอย่างที่คาด นาซาอาจผลิตตามการออกแบบของมันเพื่อเพิ่มองค์ประกอบทางการบินใน[[รายชื่อของภารกิจที่ไปดาวอังคาร|ภารกิจดาวอังคาร]]ในอนาคต <ref name="Balaram 2018">[https://rotorcraft.arc.nasa.gov/Publications/files/Balaram_AIAA2018_0023.pdf Mars Helicopter Technology Demonstrator] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20190401121747/https://rotorcraft.arc.nasa.gov/Publications/files/Balaram_AIAA2018_0023.pdf|date=1 April 2019}} J. (Bob) Balaram, Timothy Canham, Courtney Duncan, Matt Golombek, Håvard Fjær Grip, Wayne Johnson, Justin Maki, Amelia Quon, Ryan Stern, and David Zhu; American Institute of Aeronautics and Astronautics (AIAA) SciTech Forum Conference 8–12 January 2018 Kissimmee, Florida {{doi|10.2514/6.2018-0023}} {{PD-notice}}</ref> โครงการนั้นนำโดยมีมี ออง ณ เจพีแอล<ref>[http://kiss.caltech.edu/lectures/Aung_Lecture_2015.html MiMi Aung – Autonomous Systems Deputy Division Manager] {{Webarchive |url=https://web.archive.org/web/20180605180541/http://kiss.caltech.edu/lectures/Aung_Lecture_2015.html|date=5 June 2018}} NASA/JPL {{PD-notice}}</ref> ผู้สนับสนุนอื่นๆ ได้แก่ [[แอโรไวรอนเมน|บริษัทจดทะเบียนจัดตั้งแอโรไวรอนเมน]], [[ศูนย์ศึกษาวิจัยเอแมส]], และ[[ศูนย์ศึกษาวิจัยแลงลีย์]]ของนาซา<ref name="Witold 2018">[https://rotorcraft.arc.nasa.gov/Publications/files/Koning_2018_TechMx.pdf Generation of Mars Helicopter Rotor Model for Comprehensive Analyses] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20200101170950/https://rotorcraft.arc.nasa.gov/Publications/files/Koning_2018_TechMx.pdf|date=1 January 2020}}, Witold J. F. Koning, Wayne Johnson, Brian G. Allan; NASA 2018 {{PD-notice}}</ref>
หาก''อินเจนูอิตี'' ทำงานอย่างที่คาด นาซาอาจผลิตตามการออกแบบของมันเพื่อเพิ่มองค์ประกอบทางการบินใน[[รายชื่อของภารกิจที่ไปดาวอังคาร|ภารกิจดาวอังคาร]]ในอนาคต <ref name="Balaram 2018">[https://rotorcraft.arc.nasa.gov/Publications/files/Balaram_AIAA2018_0023.pdf Mars Helicopter Technology Demonstrator] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20190401121747/https://rotorcraft.arc.nasa.gov/Publications/files/Balaram_AIAA2018_0023.pdf|date=1 April 2019}} J. (Bob) Balaram, Timothy Canham, Courtney Duncan, Matt Golombek, Håvard Fjær Grip, Wayne Johnson, Justin Maki, Amelia Quon, Ryan Stern, and David Zhu; American Institute of Aeronautics and Astronautics (AIAA) SciTech Forum Conference 8–12 January 2018 Kissimmee, Florida {{doi|10.2514/6.2018-0023}} {{PD-notice}}</ref> โครงการนั้นนำโดยมีมี ออง ณ เจพีแอล<ref>[http://kiss.caltech.edu/lectures/Aung_Lecture_2015.html MiMi Aung – Autonomous Systems Deputy Division Manager] {{Webarchive |url=https://web.archive.org/web/20180605180541/http://kiss.caltech.edu/lectures/Aung_Lecture_2015.html|date=5 June 2018}} NASA/JPL {{PD-notice}}</ref> ผู้สนับสนุนอื่นๆ ได้แก่ [[แอโรไวรอนเมน|บริษัทจดทะเบียนจัดตั้งแอโรไวรอนเมน]], [[ศูนย์ศึกษาวิจัยเอแมส]], และ[[ศูนย์ศึกษาวิจัยแลงลีย์]]ของนาซา<ref name="Witold 2018">[https://rotorcraft.arc.nasa.gov/Publications/files/Koning_2018_TechMx.pdf Generation of Mars Helicopter Rotor Model for Comprehensive Analyses] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20200101170950/https://rotorcraft.arc.nasa.gov/Publications/files/Koning_2018_TechMx.pdf|date=1 January 2020}}, Witold J. F. Koning, Wayne Johnson, Brian G. Allan; NASA 2018 {{PD-notice}}</ref>

''อินเจนูอิตี'' ขนชิ้นส่วนผ้าจากปีกของ''[[ไรต์ไฟลเออร์]]'' เครื่องบินของ[[พี่น้องไรต์]] อากาศยานขับเคลื่อนควบคุมลำแรกของมนุษยชาติบนโลก


==การออกแบบ==
==การออกแบบ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:33, 19 เมษายน 2564

อินเจนูอิตี
ส่วนหนึ่งของ มาร์ส 2020
เฮลิคอปเตอร์ อินเจนูอิตี ในมุมมองของยานเพอร์เซเวียแรนส์ หลังจากถูกปล่อยลงสู่พื้นผิวดาวอังคาร ใกล้จุดสังเกตการณ์ แวน ซีล
ชื่ออื่น
  • เฮลิคอปเตอร์สำรวจดาวอังคาร
  • เฮลิคอปเตอร์ดาวอังคาร
  • จินนี
ประเภทเฮลิคอปเตอร์ไร้คนขับ
ผู้ผลิตห้องปฏิบัติการแรงขับเคลื่อนไอพ่น (นาซา)
รายละเอียดทางวิศวกรรม
ขนาด
  • ลำตัว: 13.6 × 19.5 × 16.3 ซm (0.45 × 0.64 × 0.53 ft)[1]
  • ขาลงจอด: 0.384 m (1 ft 3.1 in)[1]
เส้นผ่าศูนย์กลางใบพัด: 1.2 m (4 ft)[1][2][3]
ความสูง0.49 m (1 ft 7 in)[1]
มวลหลังการลงจอด
  • ทั้งหมด: 1.8 kg (4.0 lb)[1][3]
  • แบตเตอรี่: 273 g (9.6 oz)
กำลังไฟฟ้า350 watts[1][4]
ประวัติการบิน
วันที่ส่งขึ้น30 กรกฎาคม พ.ศ.2563, 11:50:00 UTC
ฐานส่งแหลมคะแนเวอรัล, SLC-41
ลงจอด18 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2564, 20:55 UTC
พิกัดลงจอด18°26′41″N 77°27′03″E / 18.4447°N 77.4508°E / 18.4447; 77.4508
หลุมอุกกาบาตเจซีโร
จุดลงจอดออกเตเวีย อี บัตเลอร์
สถานะ
  • ปฏิบัติการ (ปล่อยลงจากเพอร์เซเวียแรนส์)
  • ปล่อยลงเมื่อวันที่ 3 เมษายน พ.ศ.2564[5][6][7][8]
อุปกรณ์

สัญลักษณ์เฮลิคอปเตอร์ดาวอังคารของเจพีแอล

อินเจนูอิตี (อังกฤษ: Ingenuity) เป็นเฮลิคอปเตอร์หุ่นยนต์ขนาดเล็ก ซึ่งอยู่บนดาวอังคาร ตั้งแต่วันที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2564 มันเป็นอากาศยานลำแรกบนดาวอังคาร และมีเป้าหมายเพื่อทำการบินในชั้นบรรยากาศที่มีการขับเคลื่อนและควบคุมอย่างสมบูรณ์ตั้งแต่การบินขั้นจนถึงการลงจอด บนดาวเคราะห์ใด ๆ นอกจากโลกเป็นครั้งแรก[9] อินเจนูอิตีเป็นส่วนหนึ่งของภารกิจมาร์ส 2020 ของนาซา, โดรนอากาศยานปีกหมุนร่วมแกนขนาดเล็กนี้ จะทำหน้าที่เป็นตัวสาธิตเทคโนโลยีสำหรับความเป็นไปได้ในการใช้ยานสำรวจบินได้บนดาวเคราะห์ดวงอื่น ๆ พร้อมทั้งศักยภาพในการสำรวจตำแหน่งแห่งความสนใจ และสนับสนุนการวางแผนเส้นทางขับเคลื่อนของยานสำรวจดาวอังคารในอนาคต[10][11][1]

อินเจนูอิตี ปัจจุบันอยู่บนพื้นผิวดาวอังคาร เคยแนบอยู่ด้านใต้ของยานสำรวจดาวอังคารเพอร์เซเวียแรนส์ มันถูกปล่อยลงบนพื้นผิวในวันที่ 3 เมษายน พ.ศ.2564[5][6][7] ประมาณ 60 วันหลังจากการลงจอดของเพอร์เซเวียแรนส์จุดลงจอดออกเตเวีย อี บัตเลอร์ ในหลุมอุกกาบาตเจซีโร การบินขี้นนั้นถูกวางแผนไว้สำหรับวันที่ 19 เมษายน พ.ศ.2564 ณ เวลา 14:15น. UTC+7 (7:15น. UTC) พร้อมกับการส่งผ่านสัญญาณต่อเนื่องสดในอีก 3 ชั่วโมงต่อมา (17:15น. UTC+7, 10:15น. UTC)[12][13][14][15]


ยานสำรวจดาวอังคารนั้นคาดการณ์ว่าจะขับเคลื่อนออกมาประมาณ 100 m (330 ft) จากเฮลิคอปเตอร์เพื่อให้มี "เขตกันชน" ซึ่งจะเป็นเขตที่มันจะทดลองบิน[16][17] อินเจนูอิตีนั้นถูกคาดว่าจะบินได้ถึงห้าครั้งระหว่างช่วงทดสอบ 30 วัน ซึ่งถูกวางแผนไว้ให้ปฏิบัติในช่วงต้นของภารกิจของยานสำรวจดาวอังคาร โดยส่วนใหญ่เป็นการสาธิตเทคโนโลยี[1][18] โดยการบินแต่ละครั้งนั้นถูกวางแผนให้บินที่ความสูงตั้งแต่ 3–5 m (10–16 ft) เหนือพื้นดิน.[1] เป็นเวลาถึง 90 วินาที ต่อครั้ง เฮลิคอปเตอร์อินเจนูอิตี ซึ่งสามารถเดินทางในแนวราบได้ 50 m (160 ft) และกลับมายังจุดเริ่มต้น[1] จะใช้ระบบควบคุมอัตโนมัติ ระหว่างช่วงการบินสั้น ๆ ของมันจะถูกวางแผนด้วยการการควบคุมหุ่นยนต์ทางไกล เขียนขั้นตอนการทำงานโดยผู้ดำเนินการ ณ ห้องปฏิบัติการแรงขับเคลื่อนไอพ่น (เจพีแอล) มันจะสื่อสารโดยตรงกับ ยานสำรวจเพอร์เซเวียแรนส์หลังจากการลงจอดแต่ละครั้ง ใบพัดของมันปลดออกได้สำเร็จในวันที่ 8 เมษายน พ.ศ.2564 ไม่กี่วันหลังจากถูกปล่อยลงพื้นผิวจากเพอร์เซเวียแรนส์[19][20]

หากอินเจนูอิตี ทำงานอย่างที่คาด นาซาอาจผลิตตามการออกแบบของมันเพื่อเพิ่มองค์ประกอบทางการบินในภารกิจดาวอังคารในอนาคต [21] โครงการนั้นนำโดยมีมี ออง ณ เจพีแอล[22] ผู้สนับสนุนอื่นๆ ได้แก่ บริษัทจดทะเบียนจัดตั้งแอโรไวรอนเมน, ศูนย์ศึกษาวิจัยเอแมส, และศูนย์ศึกษาวิจัยแลงลีย์ของนาซา[23]

การออกแบบ

Credits: NASA/JPL-Caltech

เฮลิคอปเตอร์ลำนี้ถูกออกแบบมาให้มีใบพัดคู่หมุนตรงกันข้ามซึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.2 เมตร (4 ฟุต) และหมุนด้วยความเร็ว 3,000 รอบต่อวินาที ซึ่งเร็วกว่าเฮลิคอปเตอร์ทั่วไปบนโลกถึง 10 เท่า เฮลิคอปเตอร์ลำนี้ติดกล้องความละเอียดสูงสำหรับการบินการลงจอดและสำรวจภูมิประเทศของดาวอังคาร และส่งข้อมูลกลับมายังโลก ใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ลิเทียมไอออน เมื่อแบตเตอรี่หมดสามารถชาร์จใหม่ได้จากแผงโซล่าเซลล์ที่ติดอยู่เหนือใบพัด

การขึ้นบินและการควบคุมการบินบนดาวอังคาร

วิศวกรของนาซ่ากำลังติดตั้งเฮลิคอปเตอร์บนส่วนท้องของยานเพอร์เซเวียแรนส์(Credits: NASA/JPL-Caltech)

วิศวกรของนาซาจะติดตั้งเฮลิคอปเตอร์บนส่วนท้องของยานเพอร์เซเวียแรนส์ และเมื่อยานสำรวจหลักลงจอดเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ก็จะสำรวจหาพื้นที่ที่เหมาะสมเพื่อที่จะปล่อยเฮลิคอปเตอร์ลงสู่พื้นดิน โดยยานสำรวจหลักจะรักษาระยะห่างจากเฮลิคอปเตอร์เพื่อรักษาความปลอดภัยในขณะที่เฮลิคอปเตอร์กำลังขึ้นบินสำรวจ

เนื่องจากดาวอังคารอยู่ห่างจากโลกมาก ทำให้การควบคุมการบินจากโลกนั้นยากลำบาก เฮลิคอปเตอร์ลำนี้จึงถูกสร้างขึ้นมาให้สามารถบินได้เองอัตโนมัติ และเนื่องจากชั้นบรรยากาศของดาวอังคารเบาบางมาก ที่ระดับพื้นผิวของดาวอังคารมีความดันอากาศเท่ากับที่ระดับความสูง 30,480 เมตร (100,000 ฟุต) จากพื้นผิวโลก ซึ่งเฮลิคอปเตอร์ที่ใช้ทั่วไปบนโลกสามารถบินได้สูงสุดเพียง 12,192 เมตร (40,000 ฟุต) เท่านั้น ดังนั้นเฮลิคอปเตอร์ลำนี้จึงถูกสร้างให้มีประสิทธิภาพที่สูงกว่าเฮลิคอปเตอร์บนโลก

อ้างอิง

  1. 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 "Ingenuity Mars Helicopter Landing Press Kit" (PDF). NASA. January 2021. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 18 February 2021. สืบค้นเมื่อ 14 February 2021. บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  2. Clarke, Stephen (14 May 2018). "Helicopter to accompany NASA's next Mars rover to Red Planet". Spaceflight Now.
  3. 3.0 3.1 "Mars Helicopter Fact Sheet" (PDF). NASA. February 2020. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 22 March 2020. สืบค้นเมื่อ 2 May 2020. บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  4. "Mars Helicopter". mars.nasa.gov. NASA. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 April 2020. สืบค้นเมื่อ 2 May 2020. บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  5. 5.0 5.1 "Mars Rover Perseverance Set To Launch Drone". Today (American TV program). YouTube. 24 March 2021. สืบค้นเมื่อ 2021-03-27.
  6. 6.0 6.1 hang, Kenneth (23 March 2021). "Get Ready for the First Flight of NASA's Mars Helicopter - The experimental vehicle named Ingenuity traveled to the red planet with the Perseverance rover, which is also preparing for its main science mission". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 23 March 2021.
  7. 7.0 7.1 Johnson, Alana; Hautaluoma, Grey; Agle, DC (23 March 2021). "NASA Ingenuity Mars Helicopter Prepares for First Flight". NASA. สืบค้นเมื่อ 23 March 2021.
  8. "NASA's Mars Helicopter Survives First Cold Martian Night on Its Own". Nasa Mars Website.
  9. First Flight on Another Planet!. Veritasium. 10 August 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 July 2020. สืบค้นเมื่อ 3 August 2020 – โดยทาง YouTube.
  10. Chang, Kenneth (23 June 2020). "Mars Is About to Have Its "Wright Brothers Moment" – As part of its next Mars mission, NASA is sending an experimental helicopter to fly through the red planet's thin atmosphere". The New York Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 June 2020. สืบค้นเมื่อ 2021-03-07.
  11. Leone, Dan (19 November 2015). "Elachi Touts Helicopter Scout for Mars Sample-Caching Rover". SpaceNews. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 February 2021. สืบค้นเมื่อ 20 November 2015.
  12. "Work Progresses Toward Ingenuity's First Flight on Mars". NASA Mars Helicopter Tech Demo. NASA. 12 April 2021.
  13. "Mars Helicopter completed full-speed spin test". Twitter. NASA. 17 April 2021. สืบค้นเมื่อ 17 April 2021.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  14. "Mars Helicopter Tech Demo". Watch Online. NASA. April 18, 2021. สืบค้นเมื่อ 2021-04-18.
  15. Mccurdy, Christen (Apr 17, 2021). "Mars Ingenuity flight scheduled for Monday, NASA says". Mars Daily. ScienceDaily. สืบค้นเมื่อ 2021-04-18.
  16. "NASA's Mars Helicopter: Small, Autonomous Rotorcraft To Fly On Red Planet" เก็บถาวร 10 กรกฎาคม 2018 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Shubham Sharma, International Business Times, 14 May 2018
  17. "Mars Helicopter a new challenge for flight" (PDF). NASA. July 2018. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 1 January 2020. สืบค้นเมื่อ 20 July 2018. บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  18. Decision expected soon on adding helicopter to Mars 2020, Jeff Fout, SpaceNews 4 May 2018
  19. Griffith, Andrew (April 8, 2021). "NASA Unlocks Mars Helicopter's Rotor Blades Ahead Of Pioneering Ingenuity Flight". The Independent. สืบค้นเมื่อ April 8, 2021.
  20. Bartels, Meghan (April 8, 2021). "Mars helicopter Ingenuity unlocks its rotor blades to prepare for 1st flight on Red Planet". Space.com. สืบค้นเมื่อ April 8, 2021.
  21. Mars Helicopter Technology Demonstrator เก็บถาวร 1 เมษายน 2019 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน J. (Bob) Balaram, Timothy Canham, Courtney Duncan, Matt Golombek, Håvard Fjær Grip, Wayne Johnson, Justin Maki, Amelia Quon, Ryan Stern, and David Zhu; American Institute of Aeronautics and Astronautics (AIAA) SciTech Forum Conference 8–12 January 2018 Kissimmee, Florida doi:10.2514/6.2018-0023 บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  22. MiMi Aung – Autonomous Systems Deputy Division Manager เก็บถาวร 5 มิถุนายน 2018 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน NASA/JPL บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ
  23. Generation of Mars Helicopter Rotor Model for Comprehensive Analyses เก็บถาวร 1 มกราคม 2020 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Witold J. F. Koning, Wayne Johnson, Brian G. Allan; NASA 2018 บทความนี้รวมเอาเนื้อความจากแหล่งอ้างอิงนี้ ซึ่งเป็นสาธารณสมบัติ