ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เฟ็นรีร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Kampf der untergehenden Götter by F. W. Heine.jpg|thumb|300px|เฟ็นรีร์กำลังต่อสู้กับโอดินน์ในภาพ {{lang|de|''Kampf der untergehenden Götter''}} หรือ ''การยุทธ์ของเทพผู้ถูกตัดสินไว้แล้ว'']]
[[ไฟล์:Kampf der untergehenden Götter by F. W. Heine.jpg|thumb|300px|เฟ็นรีร์กำลังต่อสู้กับโอดินน์ในภาพ {{lang|de|Kampf der untergehenden Götter}} หรือ ''การยุทธ์ของเทพผู้ถูกตัดสินไว้แล้ว'']]
ใน[[ตำนานเทพเจ้าสแกนดิเนเวีย]] '''เฟ็นรีร์''' ({{lang-non|Fenrir}}; "ผู้อาศัยใน[[บึง]]เลน")<ref name=ORCHARD42>Orchard (1997:42).</ref> '''เฟ็นริซูลเฟอร์''' ({{lang|non|Fenrisúlfr}}; "[[หมาป่า]]เฟ็นรีร์")<ref name=SIMEK81>Simek (2007:81).</ref> '''โรดวิตนีร์''' ({{lang|non|Hróðvitnir}}; "หมาป่าที่เลื่องลือ")<ref name=SIMEK160>Simek (2007:160).</ref> หรือ '''วานากันเดอร์''' ({{lang|non|Vánagandr}}; "อสุรกายแห่งแม่น้ำวาน")<ref name=SIMEK350>Simek (2007:350).</ref> เป็นหมาป่าขนาดมหึมา มีตัวตนอยู่ในบทกวี ''[[เอ็ดดาร้อยกรอง]]'' (''Poetic Edda'') ที่เรียบเรียงในคริสต์ศตวรรษที่ 13 จากต้นฉบับโบราณ และบทกวี ''[[เอ็ดดาร้อยแก้ว]]'' (''Prose Edda'') และ ''[[เฮมส์คริงลา]]'' (''Heimskringla'') ที่เขียนขึ้นในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 13 โดย[[สนอรี สตืร์ตลือซอน]] (Snorri Sturluson) ทั้งใน ''เอ็ดดาร้อยกรอง'' และ ''เอ็ดดาร้อยกรอง'' เฟ็นรีร์เป็นหนึ่งในบุตรของ[[โลกี]] เป็นบิดาแห่งหมาป่า[[สก็อลล์]] (Skǫll) และ[[ฮาตี โรดวิตนิสซ็อน]] (Hati Hróðvitnisson) เป็นหนึ่งในลางบอกเหตุที่จะทำให้เกิดวัน[[แรกนะร็อก]]
ใน[[ตำนานเทพเจ้าสแกนดิเนเวีย]] '''เฟ็นรีร์''' ({{lang-non|Fenrir}}; "ผู้อาศัยใน[[บึง]]เลน")<ref name=ORCHARD42>Orchard (1997:42).</ref> '''เฟ็นริซูลเฟอร์''' ({{lang|non|Fenrisúlfr}}; "[[หมาป่า]]เฟ็นรีร์")<ref name=SIMEK81>Simek (2007:81).</ref> '''โรดวิตนีร์''' ({{lang|non|Hróðvitnir}}; "หมาป่าที่เลื่องลือ")<ref name=SIMEK160>Simek (2007:160).</ref> หรือ '''วานากันเดอร์''' ({{lang|non|Vánagandr}}; "อสุรกายแห่งแม่น้ำวาน")<ref name=SIMEK350>Simek (2007:350).</ref> เป็นหมาป่าขนาดมหึมา มีตัวตนอยู่ในบทกวี ''[[เอ็ดดาร้อยกรอง]]'' (''Poetic Edda'') ที่เรียบเรียงในคริสต์ศตวรรษที่ 13 จากต้นฉบับโบราณ และบทกวี ''[[เอ็ดดาร้อยแก้ว]]'' (''Prose Edda'') และ ''[[เฮมส์คริงลา]]'' (''Heimskringla'') ที่เขียนขึ้นในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 13 โดย[[สนอรี สตืร์ตลือซอน]] (Snorri Sturluson) ทั้งใน ''เอ็ดดาร้อยกรอง'' และ ''เอ็ดดาร้อยกรอง'' เฟ็นรีร์เป็นหนึ่งในบุตรของ[[โลกี]] เป็นบิดาแห่งหมาป่า[[สก็อลล์]] (Skǫll) และ[[ฮาตี โรดวิตนิสซ็อน]] (Hati Hróðvitnisson) เป็นหนึ่งในลางบอกเหตุที่จะทำให้เกิดวัน[[แรกนะร็อก]]



รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:44, 15 เมษายน 2564

เฟ็นรีร์กำลังต่อสู้กับโอดินน์ในภาพ Kampf der untergehenden Götter หรือ การยุทธ์ของเทพผู้ถูกตัดสินไว้แล้ว

ในตำนานเทพเจ้าสแกนดิเนเวีย เฟ็นรีร์ (นอร์สเก่า: Fenrir; "ผู้อาศัยในบึงเลน")[1] เฟ็นริซูลเฟอร์ (Fenrisúlfr; "หมาป่าเฟ็นรีร์")[2] โรดวิตนีร์ (Hróðvitnir; "หมาป่าที่เลื่องลือ")[3] หรือ วานากันเดอร์ (Vánagandr; "อสุรกายแห่งแม่น้ำวาน")[4] เป็นหมาป่าขนาดมหึมา มีตัวตนอยู่ในบทกวี เอ็ดดาร้อยกรอง (Poetic Edda) ที่เรียบเรียงในคริสต์ศตวรรษที่ 13 จากต้นฉบับโบราณ และบทกวี เอ็ดดาร้อยแก้ว (Prose Edda) และ เฮมส์คริงลา (Heimskringla) ที่เขียนขึ้นในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 13 โดยสนอรี สตืร์ตลือซอน (Snorri Sturluson) ทั้งใน เอ็ดดาร้อยกรอง และ เอ็ดดาร้อยกรอง เฟ็นรีร์เป็นหนึ่งในบุตรของโลกี เป็นบิดาแห่งหมาป่าสก็อลล์ (Skǫll) และฮาตี โรดวิตนิสซ็อน (Hati Hróðvitnisson) เป็นหนึ่งในลางบอกเหตุที่จะทำให้เกิดวันแรกนะร็อก

หมาป่าตนนี้เจริญเติบโตขึ้นทุกวันกลายเป็นหมาป่าที่ดุร้ายและมีกำลังมหาศาล โอดินน์จึงสั่งให้พันธนาการเฟ็นรีร์ไว้ด้วยริบบิ้นไกลพ์นิร์ของเหล่าคนแคระที่แข็งแกร่งเหนือสิ่งอื่นใด เมื่อเหล่าเทพแอซีร์จะหลอกพันธนาการเฟ็นรีร์ มันเรียกร้องให้เหล่าเทพพิสูจน์ความบริสุทธิ์ใจโดยการวางมือลงในปากของมัน เทพทือร์อาสาทำหน้าที่นี้ เมื่อเฟ็นรีร์เห็นว่าตนเองโดนหลอกและไม่สามารถดิ้นหลุดจากโซ่ได้จึงกัดมือของทือร์ขาด จากคำทำนายในวันแรกนะร็อก เฟ็นรีร์จะหลุดออกมาได้ และสังหารโอดินน์ แต่ในเวลาต่อมาเฟ็นรีร์จะถูกวีดาร์ หนึ่งในบุตรของโอดินน์สังหาร หมาป่าเฟ็นรีร์เป็นการสะท้อนความเชื่อ และความรู้สึกอย่างหนึ่งของชาวไวกิงที่มองเห็นเหล่าหมาป่าเป็นศัตรูเป็นปีศาจร้าย นอกเหนือจากเหล่ายักษ์น้ำแข็ง (หิมะและหน้าหนาว) และยักษ์เพลิง (ภูเขาไฟ)

อ้างอิง

  1. Orchard (1997:42).
  2. Simek (2007:81).
  3. Simek (2007:160).
  4. Simek (2007:350).

บรรณานุกรม