ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอเตียน เลอนัวร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
|caption =
|caption =
|birth_date = {{birth date|df=yes|1822|1|12}}
|birth_date = {{birth date|df=yes|1822|1|12}}
|birth_place = มูว์ซี-ลา-วีล [[ลักเซมเบิร์ก]] (ปัจจุบันอยู่ใน[[ประเทศเบลเยียม]])
|birth_place = มูว์ซี-ลา-วีล [[ลักเซมเบิร์ก]] (ปัจจุบันอยู่ใน[[เบลเยียม]])
|death_date = {{death date and age|df=yes|1900|8|4|1822|1|12}}
|death_date = {{death date and age|df=yes|1900|8|4|1822|1|12}}
|death_place = ลาวาแรน-แซ็งตีแลร์ [[ฝรั่งเศส]]
|death_place = ลาวาแรน-แซ็งตีแลร์ [[ฝรั่งเศส]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:32, 28 มีนาคม 2564

เอเตียน เลอนัวร์
เกิด12 มกราคม ค.ศ. 1822(1822-01-12)
มูว์ซี-ลา-วีล ลักเซมเบิร์ก (ปัจจุบันอยู่ในเบลเยียม)
เสียชีวิต4 สิงหาคม ค.ศ. 1900(1900-08-04) (78 ปี)
ลาวาแรน-แซ็งตีแลร์ ฝรั่งเศส
พลเมืองเบลเยียม, ฝรั่งเศส
มีชื่อเสียงจากวงจรเลอนัวร์, เครื่องยนต์สันดาปภายใน, การชุบโลหะด้วยไฟฟ้า
อาชีพทางวิทยาศาสตร์
สาขาวิศวกร

ฌ็อง-โฌแซ็ฟ เอเตียน เลอนัวร์ (ฝรั่งเศส: Jean-Joseph Étienne Lenoir; 12 มกราคม ค.ศ. 1822 - 4 สิงหาคม ค.ศ. 1900)[1] เป็นวิศวกรชาวเบลเยียม-ฝรั่งเศส[2] เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องยนต์สันดาปภายในคนแรกของโลก

เขาเกิดในเมืองมูว์ซี-ลา-วีล (Mussy-la-Ville) ในลักเซมเบิร์ก (เป็นส่วนหนึ่งของเบลเยียมถึงปี ค.ศ. 1839) ในต้นคริสต์ทศวรรษ 1850 เขาย้ายมาอยู่ฝรั่งเศส ทำงานเกี่ยวกับการชุบโลหะ เขาทำเครื่องยนต์สันดาปภายในสำเร็จในปี ค.ศ. 1859 เป็นเครื่องยนต์ 2 จังหวะ สูบเดียว ใช้ก๊าซถ่านหินเป็นเชื้อเพลิง มีแบตเตอรี่ มีระบบจุดหัวเทียนด้วยไฟฟ้า ได้รับจดทะเบียนลิขสิทธิ์ในปี ค.ศ. 1860 เครื่องยนตร์ของเลอนัวร์มีใช้ในยุโรปประมาณ 400 เครื่อง ใช้กับเครื่องพิมพ์ และเครื่องสูบน้ำ[3]

อ้างอิง

  1. Weeks, Lyman Horace (1904). Automobile Biographies: An Account of the Lives and the Work of Those who Have Been Identified with the Invention and Development of Self-propelled Vehicles on the Common Roads ... Monograph Press. p. 89. สืบค้นเมื่อ 10 January 2018.
  2. Taylor, Michael J.H. Milestones of Flight. ISBN 9780710602589.
  3. Étienne Lenoir (1822 - 1900)