ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไตรสิกขา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
= '''ไตรสิกขา''' =
= '''ไตรสิกขา''' =
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไตรสิกขา แปลว่า สิกขา 3 หมายถึงข้อสำหรับศึกษา, การศึกษาข้อปฏิบัติที่พึงศึกษา, การฝึกฝนอบรมตนในเรื่องที่พึงศึกษา 3 อย่างคือ
ไตรสิกขา แปลว่า สิกขา 3 หมายถึงข้อสำหรับศึกษา, การศึกษาข้อปฏิบัติที่พึงศึกษา, การฝึกฝนอบรมตนในเรื่องที่พึงศึกษา 3 อย่างคือ{{พุทธศาสนา}}


1.อธิสีลสิกขา (Social Strengths) คือศึกษาเรื่องศีล การอบรมกายวาจาให้ถูกต้องตามหลักจุลศีล มัชฌิมศีล และมหาศีล

2.อธิจิตตสิกขา (Temperance Strengths) คือศึกษาเรื่องจิต การอบรมจิตให้สงบเป็นขณิกสมาธิ อุปจารสมาธิ อัปปนาสมาธิ ด้วยการเจริญสมถกรรมฐาน

3.อธิปัญญาสิกขา (Cognitive Strengths) คือศึกษาเรื่องปัญญา ศึกษาหาความรู้(สุตตามยปัญญา) การคิดด้วยโยนิโสมนสิการ(จินตามยปัญญา) การเจริญภาวนาวิปัสสนากรรมฐาน (ภาวนามยปัญญา)

{{พุทธศาสนา}}
'''ไตรสิกขา''' แปลว่า ''สิกขา 3'' หมายถึงข้อสำหรับศึกษา, การศึกษาข้อปฏิบัติที่พึงศึกษา, การฝึกฝนอบรมตนในเรื่องที่พึงศึกษา 3 อย่างคือ
'''ไตรสิกขา''' แปลว่า ''สิกขา 3'' หมายถึงข้อสำหรับศึกษา, การศึกษาข้อปฏิบัติที่พึงศึกษา, การฝึกฝนอบรมตนในเรื่องที่พึงศึกษา 3 อย่างคือ



รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:45, 17 มีนาคม 2564

ไตรสิกขา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ไตรสิกขา แปลว่า สิกขา 3 หมายถึงข้อสำหรับศึกษา, การศึกษาข้อปฏิบัติที่พึงศึกษา, การฝึกฝนอบรมตนในเรื่องที่พึงศึกษา 3 อย่างคือ

ไตรสิกขา แปลว่า สิกขา 3 หมายถึงข้อสำหรับศึกษา, การศึกษาข้อปฏิบัติที่พึงศึกษา, การฝึกฝนอบรมตนในเรื่องที่พึงศึกษา 3 อย่างคือ

  1. อธิสีลสิกขา คือศึกษาเรื่องศีล อบรมปฏิบัติให้ถูกต้องดีงาม ให้ถูกต้องตามหลักจุลศีล มัชฌิมศีล และมหาศีล ตลอดถึงปฏิบัติอยู่ในหลัก มัชฌิมศีล และมหาศีล ตลอดถึงปฏิบัติอยู่ในหลักอินทรียสังวร สติสัมปชัญญะ และสันโดษ
  2. อธิจิตตสิกขา คือศึกษาเรื่องจิต อบรมจิตให้สงบมั่นคงเป็นสมาธิ ได้แก่การบำเพ็ญสมถกรรมฐานของผู้สมบูรณ์ด้วยอริยศีลขันธ์จนได้บรรลุฌาน 4
  3. อธิปัญญาสิกขา คือศึกษาเรื่องปัญญาอบรมตนให้เกิดปัญญาแจ่มแจ้ง ได้แก่การบำเพ็ญวิปัสสนากรรมฐานของผู้ได้ฌานแล้วจนได้บรรลุวิชชา 8 คือเป็นพระอรหันต์