ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอเกาะยาว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
Ekströmz (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล อำเภอ
{{กล่องข้อมูล อำเภอ
| name = เกาะยาว
| name = เกาะยาว
บรรทัด 17: บรรทัด 16:
| คำขวัญ =เกาะสามเมือง ลือเลื่องการท่องเที่ยว หนึ่งเดียวรังนก มรดกอันดามัน มหัศจรรย์น้ำทะเลจืด
| คำขวัญ =เกาะสามเมือง ลือเลื่องการท่องเที่ยว หนึ่งเดียวรังนก มรดกอันดามัน มหัศจรรย์น้ำทะเลจืด
}}
}}
'''อำเภอเกาะยาว''' ตั้งอยู่ใน[[จังหวัดพังงา]] เป็น[[อำเภอ]]ที่มีระยะเวลาการเป็น[[กิ่งอำเภอ]]ยาวนานที่สุดในประเทศไทยถึง 85 ปี ตั้งขึ้นเป็นกิ่งอำเภอในปี พ.ศ. 2446 ขึ้นตรงต่อ[[เมืองพังงา]] และยกฐานะเป็นอำเภอในปี พ.ศ. 2531<ref name=":022">{{cite journal|date=December 31, 1987|title=พระราชกฤษฎีกาตั้งอำเภอนามน อำเภอพระยืน อำเภอหนองบัวระเหว อำเภอบ้านเหลื่อม อำเภอจะแนะ อำเภอหนองหงส์ อำเภอนาโพธิ์ อำเภอเกาะยาว อำเภอแกดำ อำเภอสระโบสถ์ อำเภอโนนคูณ อำเภอควนโดน อำเภอไชยวาน อำเภอหนองแสง และอำเภอตาลสุม พ.ศ. ๒๕๓๐|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2530/A/278/33.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=104|issue=278 ก|pages=(ฉบับพิเศษ) 33-37}}</ref>
'''อำเภอเกาะยาว''' ตั้งอยู่ใน[[จังหวัดพังงา]]


== ที่ตั้งและอาณาเขต ==
== ที่ตั้งและอาณาเขต ==
บรรทัด 29: บรรทัด 28:
บรรพบุรุษของชาวเกาะยาวได้อพยพมาจาก[[จังหวัดตรัง]]ตั้งถิ่นฐานที่เกาะยาวน้อย และ [[สตูล]] จะตั้งถิ่นฐานที่เกาะยาวใหญ่ และอื่น ๆ ที่อยู่แถบนั้นในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ([[พ.ศ. 2328]]) ขณะที่[[พม่า]]ได้ยกทัพมาตีเมืองต่าง ๆ ผู้ที่หนีมาเห็นว่าเกาะยาวน้อยและเกาะยาวใหญ่มีความเหมาะสมที่จะหลบภัย จึงได้ตั้งหลักแหล่งบริเวณนี้
บรรพบุรุษของชาวเกาะยาวได้อพยพมาจาก[[จังหวัดตรัง]]ตั้งถิ่นฐานที่เกาะยาวน้อย และ [[สตูล]] จะตั้งถิ่นฐานที่เกาะยาวใหญ่ และอื่น ๆ ที่อยู่แถบนั้นในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ([[พ.ศ. 2328]]) ขณะที่[[พม่า]]ได้ยกทัพมาตีเมืองต่าง ๆ ผู้ที่หนีมาเห็นว่าเกาะยาวน้อยและเกาะยาวใหญ่มีความเหมาะสมที่จะหลบภัย จึงได้ตั้งหลักแหล่งบริเวณนี้


[[พ.ศ. 2446]] ทางราชการยกฐานะเป็น '''กิ่งอำเภอเกาะยาว''' แยกออกมาจาก[[อำเภอเมืองพังงา]] และขึ้นต่อ[[เมืองพังงา]] ได้สร้างที่ว่าการกิ่งอำเภอหลังแรกเมื่อปี [[พ.ศ. 2463]] ต่อมาได้ย้ายมาในที่ว่าการปัจจุบันในปี [[พ.ศ. 2508]]
[[พ.ศ. 2446]] ทางราชการยกฐานะเป็น '''กิ่งอำเภอเกาะยาว''' แยกออกมาจาก[[อำเภอเมืองพังงา]] และขึ้นต่อ[[เมืองพังงา]] ในปี พ.ศ. 2460 ตามประกาศ[[กระทรวงมหาดไทย]] เรื่อง เปลี่ยนชื่ออำเภอ<ref>{{cite journal|last=|first=|date=April 29, 1917|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนชื่ออำเภอ|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2460/A/40.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=34|issue=0 ก|pages=40-68|via=}}</ref> เกาะยาวมีฐานะเป็นกิ่งอำเภออยู่แล้ว จากหลักฐานประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ. 2464 ในท้องที่มณฑลภูเก็ต กิ่งอำเภอเกาะยาวมีพื้นที่การปกครองสองตำบล คือ ตำบลเกาะยาวใหญ่<ref>{{cite journal|last=|first=|date=February 26, 1921|title=ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ. ๒๔๖๔ ในท้องที่มณฑลภูเก็ต|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2464/A/572.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=38|issue=0 ก|pages=572-575|via=}}</ref> และตำบลเกาะยาวน้อย<ref>{{cite journal|last=|first=|date=December 25, 1921|title=ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ. ๒๔๖๔ [ในท้องที่มณฑลภูเก็ต]|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2464/A/519.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=38|issue=0 ก|pages=519-530|via=}}</ref> ได้สร้างที่ว่าการกิ่งอำเภอหลังแรกเมื่อปี [[พ.ศ. 2463]] ต่อมาได้ย้ายมาในที่ว่าการปัจจุบันในปี [[พ.ศ. 2508]]


ต่อมาข้าราชการและประชาชนต้องการให้ยกกิ่งอำเภอเกาะยาวเป็นอำเภอเกาะยาว ตลอดจน[[จังหวัดพังงา]]ได้สนับสนุนให้ทางราชการยกฐานะให้ รวมได้รับการสนับสนุนจากหลายฝ่าย จนในที่สุดก็ได้รับการยกฐานะจากกิ่งอำเภอเกาะยาวเป็น '''อำเภอเกาะยาว''' ในวันที่ [[1 มกราคม]] [[พ.ศ. 2531]] รวมระยะเวลาการเป็นกิ่งอำเภอ 85 ปี นับว่าเป็น[[กิ่งอำเภอ]]ที่ยาวนาน[[ที่สุดในประเทศไทย]]
ต่อมาข้าราชการและประชาชนต้องการให้ยกกิ่งอำเภอเกาะยาวเป็นอำเภอเกาะยาว ตลอดจน[[จังหวัดพังงา]]ได้สนับสนุนให้ทางราชการยกฐานะให้ รวมได้รับการสนับสนุนจากหลายฝ่าย จนในที่สุดก็ได้รับการยกฐานะจากกิ่งอำเภอเกาะยาวเป็น '''อำเภอเกาะยาว''' ในวันที่ 30 ธันวาคม 2530 โดยมีผลในรุ่งขึ้น วันที่ [[1 มกราคม]] [[พ.ศ. 2531]]'''<ref name=":022" />''' รวมระยะเวลาการเป็นกิ่งอำเภอ 85 ปี นับว่าเป็น[[กิ่งอำเภอ]]ที่ยาวนาน[[ที่สุดในประเทศไทย]]

* วันที่ - พ.ศ. 2446 แยกพื้นที่ตำบลเกาะยาวใหญ่ และตำบลเกาะยาวน้อย จากอำเภอเมืองพังงา มาตั้งเป็น '''กิ่งอำเภอเกาะยาว''' และให้ขึ้นการปกครองตรงต่อ[[อำเภอเมืองพังงา]]
* วันที่ 7 มกราคม 2500 จัดตั้งสุขาภิบาลเกาะยาว ในท้องที่บางส่วนของตำบลเกาะยาวน้อย<ref>{{cite journal|last=|first=|date=January 7, 1957|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งสุขาภิบาลเกาะยาว อำเภอเมืองพังงา จังหวัดพังงา|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2500/D/004/67.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=74|issue=4 ง|pages=(ฉบับพิเศษ) 67-68|via=}}</ref>
* วันที่ 2 พฤศจิกายน 2525 ตั้งตำบลพรุใน แยกออกจากตำบลเกาะยาวใหญ่<ref>{{cite journal|last=|first=|date=November 2, 1982|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและเปลี่ยนแปลงเขตตำบลในท้องที่กิ่งอำเภอเกาะยาว อำเภอเมืองพังงา จังหวัดพังงา|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2525/D/163/4366.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=99|issue=163 ง|pages=4366-4368|via=}}</ref>
* วันที่ 31 ธันวาคม 2530 ยกฐานะกิ่งอำเภอเกาะยาว อำเภอเมืองพังงา เป็น '''อำเภอเกาะยาว'''<ref name=":022" />
* วันที่ 25 พฤษภาคม 2542 ยกฐานะจากสุขาภิบาลเกาะยาว เป็นเทศบาลตำบลเกาะยาว<ref>{{cite journal|last=|first=|date=February 24, 1999|title=พระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของสุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ. ๒๕๔๒|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2542/A/009/1.PDF|journal=ราชกิจจานุเบกษา|language=|volume=116|issue=9 ก|pages=1-4|via=}}</ref> ด้วยผลของกฎหมาย


== การแบ่งเขตการปกครอง ==
== การแบ่งเขตการปกครอง ==
บรรทัด 57: บรรทัด 62:
* '''เทศบาลตำบลเกาะยาวใหญ่''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเกาะยาวใหญ่ทั้งตำบล
* '''เทศบาลตำบลเกาะยาวใหญ่''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเกาะยาวใหญ่ทั้งตำบล
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะยาวน้อย''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเกาะยาวน้อย (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลเกาะยาว)
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะยาวน้อย''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเกาะยาวน้อย (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลเกาะยาว)

== ประชากร ==
* '''เชื้อชาติ''' ส่วนใหญ่เป็น[[ชาวไทย]]
* '''อาชีพ''' ส่วนใหญ่เป็นชาวประมงและเกษตรกรรม
* '''ศาสนา''' ส่วนใหญ่เป็น[[ชาวไทย]][[มุสลิม]]ร้อยละ 99.9 ชาวไทยพุทธและอื่น ๆ ร้อยละ 0.1

== การเดินทางไปเกาะยาวน้อย ==

* '''จากจังหวัดพังงา'''
เที่ยวไป จากท่าเรือท่าด่านศุลกากร - เกาะยาวน้อย (ท่าเรือมาเนาะ หรือ ท่าเรือสุขาภิบาล ขึ้นอยู่กับน้ำขึ้นน้ำลงด้วย) มีเรือออกวันละ 1 เที่ยว เวลาเที่ยงตรง
เที่ยวกลับ จากเกาะยาวน้อย - ท่าเรือท่าด่านศุลกากร มีเรือออกเวลา 7 โมงเช้า ใช้เวลาเดินทางประมาณ 1 ชม.ครึ่ง

* '''จากจังหวัดภูเก็ต'''
เที่ยวไป จากท่าเรือบางโรง มีเรือโดยสารขนาดใหญ่และเรือโดยสารแบบติดเครื่องยนต์เร็ว ( Speed Boat )ออกวันละ 9 เที่ยว
ตั้งแต่เวลาประมาณ 07.50 นาฬิกา โมงเช้าถึง 17.40 นาฬิกา ใช้เวลาเดินทางประมาณ 45 นาที
เที่ยวกลับ จากท่าเรือเกาะยาวน้อย - ท่าเรือบางโรง มีเรือออกวันละ 7 เที่ยว ตั้งแต่เวลา 7 โมงเช้า ถึง 5 โมงเย็น

* '''จากจังหวัดกระบี่'''
ลงเรือที่ท่าเรือท่าเลน มีเรือโดยสาร แบบเรือหางยาวและเรือสปีดโบ๊ท เที่ยวแรกออก ตั้งแต่เวลา 8.00น
จนถึงเที่ยวสุดท้าย 17.50 น. เรือวิ่งทุกชั่วโมง
ใช้เวลาในการเดินทาง 15-20นาที สำหรับเรือเร็ว
35-50นาที สำหรับเรือหางยาว

== การเดินทางไปเกาะยาวใหญ่ ==

* '''จังหวัดภูเก็ต'''

เที่ยวไป
#08.30 น. ท่าเรือเจียรวานิช (เรือเร็ว)
#11.00 น. ท่าเรือเจียรวานิช (วันศุกร์เรือออก 10.30 น.)
#14.00 น. ท่าเรือเจียรวานิช (เรือข้ามฟากเอารถยนต์ลงเรือได้)
#17.00 น. ท่าเรือเจียรวานิช (เรือเร็ว)

* '''จังหวัดพังงา'''

เที่ยวกลับ
#07.20 น. ท่าเรือโละจาก (เรือเร็ว)
#08.00 น. ท่าเรือโละจาก (เรือข้ามฟาก)
#14.00 น. ท่าเรือโละจาก (เรือข้ามฟาก)
#15.00 น. ท่าเรือโละจาก (เรือยนต์โดยสารไม้)

* '''เที่ยวเรือเพิ่มใหม่'''
จากเกาะยาวใหญ่ออกจากท่าเรือแหลมใหญ่ เทียบท่าท่าเรือแหลมหิน จังหวัดภูเก็ต


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* http://www.phangnga.go.th/district/kohyao.htm
* http://www.phangnga.go.th/district/kohyao.htm


{{จังหวัด/พังงา}}
{{จังหวัด/พังงา}}
{{เกาะในประเทศไทย}}
{{เกาะในประเทศไทย}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:41, 17 มีนาคม 2564

อำเภอเกาะยาว
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันAmphoe Ko Yao
คำขวัญ: 
เกาะสามเมือง ลือเลื่องการท่องเที่ยว หนึ่งเดียวรังนก มรดกอันดามัน มหัศจรรย์น้ำทะเลจืด
แผนที่จังหวัดพังงา เน้นอำเภอเกาะยาว
แผนที่จังหวัดพังงา เน้นอำเภอเกาะยาว
พิกัด: 8°6′42″N 98°35′27″E / 8.11167°N 98.59083°E / 8.11167; 98.59083
ประเทศ ไทย
จังหวัดพังงา
พื้นที่
 • ทั้งหมด141.3 ตร.กม. (54.6 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2562)
 • ทั้งหมด14,366 คน
 • ความหนาแน่น101.89 คน/ตร.กม. (263.9 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์ 82160
รหัสภูมิศาสตร์8202
ที่ตั้งที่ว่าการที่ว่าการอำเภอเกาะยาว ถนนกาลัญกุล ตำบลเกาะยาวน้อย อำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา 82160
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

อำเภอเกาะยาว ตั้งอยู่ในจังหวัดพังงา เป็นอำเภอที่มีระยะเวลาการเป็นกิ่งอำเภอยาวนานที่สุดในประเทศไทยถึง 85 ปี ตั้งขึ้นเป็นกิ่งอำเภอในปี พ.ศ. 2446 ขึ้นตรงต่อเมืองพังงา และยกฐานะเป็นอำเภอในปี พ.ศ. 2531[1]

ที่ตั้งและอาณาเขต

เกาะยาว มีพื้นที่ประมาณ 137.6 ตร.กม. ประกอบด้วย 2 เกาะใหญ่ คือ เกาะยาวน้อย และเกาะยาวใหญ่ อีกทั้งยังถูกล้อมรอบด้วยเกาะเล็กๆ อีกมากมาย มีอาณาเขตทางทะเลติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้

ประวัติ

บรรพบุรุษของชาวเกาะยาวได้อพยพมาจากจังหวัดตรังตั้งถิ่นฐานที่เกาะยาวน้อย และ สตูล จะตั้งถิ่นฐานที่เกาะยาวใหญ่ และอื่น ๆ ที่อยู่แถบนั้นในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ. 2328) ขณะที่พม่าได้ยกทัพมาตีเมืองต่าง ๆ ผู้ที่หนีมาเห็นว่าเกาะยาวน้อยและเกาะยาวใหญ่มีความเหมาะสมที่จะหลบภัย จึงได้ตั้งหลักแหล่งบริเวณนี้

พ.ศ. 2446 ทางราชการยกฐานะเป็น กิ่งอำเภอเกาะยาว แยกออกมาจากอำเภอเมืองพังงา และขึ้นต่อเมืองพังงา ในปี พ.ศ. 2460 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนชื่ออำเภอ[2] เกาะยาวมีฐานะเป็นกิ่งอำเภออยู่แล้ว จากหลักฐานประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ. 2464 ในท้องที่มณฑลภูเก็ต กิ่งอำเภอเกาะยาวมีพื้นที่การปกครองสองตำบล คือ ตำบลเกาะยาวใหญ่[3] และตำบลเกาะยาวน้อย[4] ได้สร้างที่ว่าการกิ่งอำเภอหลังแรกเมื่อปี พ.ศ. 2463 ต่อมาได้ย้ายมาในที่ว่าการปัจจุบันในปี พ.ศ. 2508

ต่อมาข้าราชการและประชาชนต้องการให้ยกกิ่งอำเภอเกาะยาวเป็นอำเภอเกาะยาว ตลอดจนจังหวัดพังงาได้สนับสนุนให้ทางราชการยกฐานะให้ รวมได้รับการสนับสนุนจากหลายฝ่าย จนในที่สุดก็ได้รับการยกฐานะจากกิ่งอำเภอเกาะยาวเป็น อำเภอเกาะยาว ในวันที่ 30 ธันวาคม 2530 โดยมีผลในรุ่งขึ้น วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2531[1] รวมระยะเวลาการเป็นกิ่งอำเภอ 85 ปี นับว่าเป็นกิ่งอำเภอที่ยาวนานที่สุดในประเทศไทย

  • วันที่ - พ.ศ. 2446 แยกพื้นที่ตำบลเกาะยาวใหญ่ และตำบลเกาะยาวน้อย จากอำเภอเมืองพังงา มาตั้งเป็น กิ่งอำเภอเกาะยาว และให้ขึ้นการปกครองตรงต่ออำเภอเมืองพังงา
  • วันที่ 7 มกราคม 2500 จัดตั้งสุขาภิบาลเกาะยาว ในท้องที่บางส่วนของตำบลเกาะยาวน้อย[5]
  • วันที่ 2 พฤศจิกายน 2525 ตั้งตำบลพรุใน แยกออกจากตำบลเกาะยาวใหญ่[6]
  • วันที่ 31 ธันวาคม 2530 ยกฐานะกิ่งอำเภอเกาะยาว อำเภอเมืองพังงา เป็น อำเภอเกาะยาว[1]
  • วันที่ 25 พฤษภาคม 2542 ยกฐานะจากสุขาภิบาลเกาะยาว เป็นเทศบาลตำบลเกาะยาว[7] ด้วยผลของกฎหมาย

การแบ่งเขตการปกครอง

การปกครองส่วนภูมิภาค

อำเภอเกาะยาวแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 3 ตำบล 18 หมู่บ้าน ได้แก่

1. เกาะยาวน้อย (Ko Yao Noi) 7 หมู่บ้าน
2. เกาะยาวใหญ่ (Ko Yao Yai) 4 หมู่บ้าน
3. พรุใน (Phru Nai) 7 หมู่บ้าน

การปกครองส่วนท้องถิ่น

ท้องที่อำเภอเกาะยาวประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4 แห่ง ได้แก่

  • เทศบาลตำบลเกาะยาว ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลเกาะยาวน้อย
  • เทศบาลตำบลพรุใน ครอบคลุมพื้นที่ตำบลพรุในทั้งตำบล
  • เทศบาลตำบลเกาะยาวใหญ่ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเกาะยาวใหญ่ทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะยาวน้อย ครอบคลุมพื้นที่ตำบลเกาะยาวน้อย (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลเกาะยาว)

แหล่งข้อมูลอื่น

  1. 1.0 1.1 1.2 "พระราชกฤษฎีกาตั้งอำเภอนามน อำเภอพระยืน อำเภอหนองบัวระเหว อำเภอบ้านเหลื่อม อำเภอจะแนะ อำเภอหนองหงส์ อำเภอนาโพธิ์ อำเภอเกาะยาว อำเภอแกดำ อำเภอสระโบสถ์ อำเภอโนนคูณ อำเภอควนโดน อำเภอไชยวาน อำเภอหนองแสง และอำเภอตาลสุม พ.ศ. ๒๕๓๐" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 104 (278 ก): (ฉบับพิเศษ) 33-37. December 31, 1987.
  2. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนชื่ออำเภอ" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 34 (0 ก): 40–68. April 29, 1917.
  3. "ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ. ๒๔๖๔ ในท้องที่มณฑลภูเก็ต" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 38 (0 ก): 572–575. February 26, 1921.
  4. "ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ใช้พระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ. ๒๔๖๔ [ในท้องที่มณฑลภูเก็ต]" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 38 (0 ก): 519–530. December 25, 1921.
  5. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งสุขาภิบาลเกาะยาว อำเภอเมืองพังงา จังหวัดพังงา" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 74 (4 ง): (ฉบับพิเศษ) 67-68. January 7, 1957.
  6. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ตั้งและเปลี่ยนแปลงเขตตำบลในท้องที่กิ่งอำเภอเกาะยาว อำเภอเมืองพังงา จังหวัดพังงา" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 99 (163 ง): 4366–4368. November 2, 1982.
  7. "พระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของสุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ. ๒๕๔๒" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 116 (9 ก): 1–4. February 24, 1999.