ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสาร์ ๕"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 120: บรรทัด 120:
|ชลดา||[[กวินตรา โพธิจักร]]||[[อัญรินทร์ ธีราธนันพัฒน์]]
|ชลดา||[[กวินตรา โพธิจักร]]||[[อัญรินทร์ ธีราธนันพัฒน์]]
|-
|-
|ยอด นางพญา||[[รพีภัทร เอกพันธ์กุล]] ||[[พงศกร โตสุวรรณ]]
|ยอด นางพญา||[[รพีภัทร เอกพันธ์กุล]] ||[[ชนกันต์ พูนศิริวงศ์]]
|-
|-
|ดวงกมล||[[กาญจน์เกล้า ด้วยเศียรเกล้า]]||[[ศรัณย่า ชุณหศาสตร์]]
|ดวงกมล||[[กาญจน์เกล้า ด้วยเศียรเกล้า]]||[[ศรัณย่า ชุณหศาสตร์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:03, 3 มีนาคม 2564

เสาร์ ๕
กำกับวินิจ ภักดีวิจิตร
เขียนบทบทประพันธ์ :
ดาเรศร์ (ประสิทธิ์ โรหิตเสถียร)
บทภาพยนตร์ :
สราวุฒิ
อำนวยการสร้างอุไรวรรณ ภักดีวิจิตร
นักแสดงนำกรุง ศรีวิไล
สรพงษ์ ชาตรี
ไพโรจน์ ใจสิงห์
นิรุตต์ ศิริจรรยา
สิงหา สุริยง
ทัศน์วรรณ เสนีย์วงศ์
ปิยะมาศ โมนยะกุล
เปียทิพย์ คุ้มวงศ์
มยุรฉัตร เหมือนประสิทธิเวช
ศศิมา สิงห์ศิริ
ดวงใจ หทัยกาญจน์
กำกับภาพสันทัด ศรีสัมพันธุ์
ตัดต่อธราธร
ดนตรีประกอบสุรพล โทณะวณิก
ผู้จัดจำหน่ายบางกอกการภาพยนตร์ [1]
วันฉาย24 กรกฎาคม พ.ศ. 2519
ฉายที่โรงภาพยนตร์เฉลิมไทย
ความยาว140 นาที
ประเทศไทย
ภาษาไทย
ข้อมูลจากฐานข้อมูลภาพยนตร์ไทย
เสาร์ ๕
ประเภทโลดโผน, ชีวิต
สร้างโดยบริษัท บางกอก ออดิโอวิชั่นส์ จำกัด
เขียนโดยประสิทธิ์ โรหิตเสถียร
กำกับโดยฉลอง ภักดีวิจิตร
แสดงนำรังสิโรจน์ พันธุ์เพ็ง
อานัส ฬาพานิช
รพีภัทร เอกพันธ์กุล
พาทิศ พิสิฐกุล
วัชรบูล ลี้สุวรรณ
ศักดิ์สิทธิ์ แย้มวงศ์
ฟ้ารุ่ง ยุติธรรม
กวินตรา โพธิจักร
มาริสา แอนนิต้า (ภาค 1)
ปรียานุช อาสนจินดา
กาญจน์เกล้า ด้วยเศียรเกล้า (ภาค 1)
รฐกร สถิรบุตร (ภาค 2)
วรรษพร วัฒนากุล (ภาค 2)
แมทธิว ดีน ฉันทวานิช (ภาค 2)
พัชชุดาญ์ พันธุ์พิพัฒน์ (ภาค 2)
กรุง ศรีวิไล
ดนตรีแก่นเรื่องเปิดเพลง เสาร์ ๕ ขับร้องโดย กัญจน์ ภักดีวิจิตร
ดนตรีแก่นเรื่องปิดเพลง ศัตรูคู่รัก ขับร้องโดย กัญจน์ ภักดีวิจิตร
เพลง แคนคนป่า ขับร้องโดย กัญจน์ ภักดีวิจิตร (ภาค 1)
ประเทศแหล่งกำเนิดไทย
ภาษาต้นฉบับไทย
จำนวนฤดูกาล2
จำนวนตอน18
การผลิต
กล้องบริษัท บางกอก ออดิโอวิชั่นส์ จำกัด
ออกอากาศ
เครือข่ายสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7
ออกอากาศ19 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 (ภาค 1) –
20 กรกฎาคม พ.ศ. 2552
วันจันทร์-อังคาร

เสาร์ ๕ เป็นละครโทรทัศน์ไทยที่ดัดแปลงจากบทประพันธ์ของ "ประสิทธิ์ โรหิตเสถียร" (นามปากกา: ดาเรศร์) เคยนำไปสร้างเป็น ภาพยนตร์ไทยชื่อเดียวกันที่เคยออกฉายในปี พ.ศ. 2519 ซึ่งกำกับโดย วินิจ ภักดีวิจิตร นำแสดงโดย กรุง ศรีวิไล, สรพงษ์ ชาตรี, นิรุตติ์ ศิริจรรยา, ไพโรจน์ ใจสิงห์, สิงหา สุริยง, ปิยะมาศ โมนยะกุล[2]

โดยในฉบับละครโทรทัศน์ ฉลอง ภักดีวิจิตร ได้นำผลงานของน้องชายตนเองชิ้นนี้กลับมาปัดฝุ่นทำใหม่ในปี พ.ศ. 2552 โดยออกอากาศทางช่อง 7 สี ทุกวันจันทร์-อังคาร เวลา 20.20-22.20 น. ออกอากาศอีกครั้ง ทุกวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 13.00 - 14.55 น. (เริ่มออกอากาศอีกครั้งวันศุกร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 - ) นำแสดงโดย รังสิโรจน์ พันธุ์เพ็ง, วัชรบูล ลี้สุวรรณ, อานัส ฬาพานิช, รพีภัทร เอกพันธ์กุล, พาทิศ พิสิฐกุล, ศักดิ์สิทธิ์ แย้มวงศ์, ฟ้ารุ่ง ยุติธรรม, กวินตรา โพธิจักร, มาริสา แอนนิต้า, กาญจน์เกล้า ด้วยเศียรเกล้า, ปรียานุช อาสนจินดา, กรุง ศรีวิไล และดาราอีกคับคั่ง โดยตอนจบของละครได้เรตติ้ง 25 เรตติ้งเฉลี่ยอยู่ที่ 19.1 ซึ่งเป็นละครที่มีเรตติ้งสูงที่สุดอันดับ 1 ประจำปี พ.ศ. 2552

ปี พ.ศ. 2554 ฉลอง ภักดีวิจิตร สร้างละครภาคต่อของเสาร์ ๕ โดยใช้ชื่อว่า เสาร์ ๕ ตอนทับทิมสยาม นำแสดงโดย รังสิโรจน์ พันธุ์เพ็ง, วัชรบูล ลี้สุวรรณ, อานัส ฬาพานิช, พาทิศ พิสิฐกุล, รพีภัทร เอกพันธ์กุล, ฟ้ารุ่ง ยุติธรรม, กวินตรา โพธิจักร, รฐกร สถิรบุตร, ปรียานุช อาสนจินดา, วรรษพร วัฒนากุล, กัญจน์ ภักดีวิจิตร, ชัชฎาภรณ์ ธนันทา, แมทธิว ดีน ฉันทวานิช, พัชชุดาญ์ พันธุ์พิพัฒน์, กรุง ศรีวิไล และนักแสดงอีกคับคั่ง[3]

ตัวละคร

  • เดี่ยว สมเด็จ
เสาร์ ๕ ที่มีความสามารถพิเศษในการได้ยินระยะไกล
  • เทอด ยอดธง
เสาร์ ๕ ที่มีความสามารถพิเศษในการหายตัวเพียงกลั้นหายใจ แต่มีจุดอ่อนที่ความสามารถที่ใช้มีข้อจำกัดเพียง 1 ชั่วโมง
  • ร.ต.ท.ดอน ท่ากระดาน
เสาร์ ๕ ที่มีความสามารถพิเศษในการมองเห็นในระยะไกล แต่มีจุดอ่อนที่ต้องใช้สมาธิและห้ามมิให้ผู้อื่นรบกวน
และความสามารถที่ใช้มีข้อจำกัดเพียง 1 ชั่วโมง
  • กริ่ง คลองตะเคียน
เสาร์ ๕ ที่มีความสามารถพิเศษในการปลอมตัว และเคลื่อนไหวได้รวดเร็ว แต่มีจุดอ่อนที่ความสามารถที่ใช้มีข้อจำกัดเพียง 1 ชั่วโมง
  • ยอด นางพญา
เสาร์ ๕ ที่มีความสามารถพิเศษในการเดินผ่านสิ่งกีดขวาง แต่มีจุดอ่อนที่ความสามารถที่ใช้มีข้อจำกัดเพียง 1 ชั่วโมง
  • พ.ญ.บุษกร
เพื่อนของเสาร์ ๕ ที่สนิทสนมมาตั้งแต่เล็กๆ คนรักของเดี่ยว มีความเชี่ยวชาญด้านเชื้อโรคเคมี
  • ร.ต.อ.หญิง ชลดา
หน่วยพิเศษที่รอดชีวิตมาจากการตามล่าของเสือสนธิ์ เป็นน้องสาวของ พ.อ.เชษฐ คนรักของเทอด และยังมีหน้าตาคล้ายน้อยหน่า คนรักของเจ้าพ่ออินทร์ที่เสียชีวิตไปแล้ว
  • มาเรีย
ตำรวจสากลที่เข้ามาสืบเรื่องราว โดยปลอมตัวเป็นลูกน้องของเสือสนธิ์ คนรักของดอน
  • ยูกิ
นักฆ่านินจาสาวจากญี่ปุ่น คนรักของกริ่ง
  • ร.ต.ต.หญิง ดวงกมล (แตน)
หน่วยจู่โจมพิเศษ ปลอมตัวเป็นลูกสาวของ พ.ท.เติมพงษ์ คนรักของยอด
  • แคน
คนที่เล่นบทเหมือนพระเอกแต่ไม่ใช่พระเอกและก็ไม่เคยอยู่ฝั่งตัวโกง ที่สำคัญเค้าไม่เคยย่างไก่กินเองเลย
  • พ.ท.เติมพงษ์
นายตำรวจผู้ปลอมตัวเป็นสัปเหร่อให้กับหมู่บ้านเสือบหมอบและหมู่บ้านเขากระบือ
  • เจ้าพ่ออินทร์
ผู้มีอิทธิพลประจำหมู่บ้านเสือบหมอบ ไม่ถูกกับเสือสนธิ์
  • เสือสนธิ์
ผู้มีอิทธิพลประจำหมู่บ้านเขากระบือ

นักแสดง

ตัวละคร 2552 2564
สถานีออกอากาศ ช่อง 7
ผลิตโดย บางกอกออดิโอ 9 บีเวอร์ฟิลมส์
กำกับโดย ฉลอง ภักดีวิจิตร โอริเวอร์ บีเวอร์
บทประพันธ์ ประสิทธิ์ โลหิตเสถียร์ อรชร
เดี่ยว สมเด็จ รังสิโรจน์ พันธุ์เพ็ง ภัทรพลฒ์ เดชพงษ์วรานนท์
บุษกร ฟ้ารุ่ง ยุติธรรม ปวีณ์ธิดา สกุลพิพัฒน์
ดอน ท่ากระดาน อานัส ฬาพานิช รัฐธีร์ วรโรจน์โยธิน
มาเรีย มาริสา แอนนิต้า พัฒนิดา พุ่มชูแสง
เทอด ยอดธง วัชรบูล ลี้สุวรรณ จิณณะ นวรัตน์
ชลดา กวินตรา โพธิจักร อัญรินทร์ ธีราธนันพัฒน์
ยอด นางพญา รพีภัทร เอกพันธ์กุล ชนกันต์ พูนศิริวงศ์
ดวงกมล กาญจน์เกล้า ด้วยเศียรเกล้า ศรัณย่า ชุณหศาสตร์
กริ่ง คองตะเคียน พาทิศ พิสิฐกุล สพล อัศวมั่นคง
ยูกิ ปริยานุช อาสนจินดา สกาย มาเรีย
แคน กัญจน์ ภักดีวิจิตร
ทับ มหากาฬ ศักดิ์สิทธิ์ แย้มวงศ์
เจ้าพ่ออินทร์ โอลิเวอร์ บีเวอร์
แต้ม กรุง ศรีวิไล
สนธิ์ ฤทธิ์ ลือชา
ฟาจง ปวารา อภิลพูลลาภ
ยาโต้ ชาลี กรรณสูต
บรรลือ พงศนารถ วินศิริ
เมฟู ชนิศร์นันท์ บุศราคัมวงศ์
อธิบดีอภิชัย พัฒนา โต๊ะชาลี
ผู้พันเชษฐ์ เอก อัครเมธา
อาจณรงค์ พิเชษฐ์ ศรีราชา
โชต เบคิม ฤทธิ์
วงศ์ อมต อินกานนท์
ฟานิโน่ ฌอน โจนส์
ยาโค่ ยุพข่าน
นักฆ่ามือสังหาร บิล จักรธิป
ครก ทับ ท่ากระดาน
สาก โก บางกอก
ต่ำ บิลลี่ ผีน่ารัก
ม่านฟ้า เมณิษา ชุมสายสกุล
บัว ปภาดา กลิ่นสุมาลย์
กุ้ง ณัฐชา ชยางคานนท์

เพลงประกอบละคร

  1. เพลง เสาร์ ๕ - กัญจน์ ภักดีวิจิตร

อ้างอิง