ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คลองภาษีเจริญ"

พิกัด: 13°38′00″N 100°14′00″E / 13.633333°N 100.233333°E / 13.633333; 100.233333
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:คลองภาษีเจริญ.jpg|thumb|300px|คลองภาษีเจริญ เมื่อต้นปี พ.ศ. 2559 มองเห็นพระมหาเจดีย์มหารัชมงคล [[วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ]]]]
[[ไฟล์:Klong pasee chareon 01.jpg|thumb|300px|คลองภาษีเจริญ เมื่อต้นปี พ.ศ. 2563 มองเห็นพระมหาเจดีย์มหารัชมงคลและพระพุทธธรรมกายเทพมงคล [[วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ]]]]
[[ไฟล์:Old Village along Khlong Phasi Charoen (I).jpg|300px|thumb|right|ชุมชนไม้เก่า ริมคลองภาษีเจริญช่วง[[วัดนิมมานรดี]]]]
[[ไฟล์:Old Village along Khlong Phasi Charoen (I).jpg|300px|thumb|right|ชุมชนไม้เก่า ริมคลองภาษีเจริญช่วง[[วัดนิมมานรดี]]]]
[[ไฟล์:Old Village along Khlong Phasi Charoen (II).jpg|300px|thumb|right|ชุมชนไม้เก่า ริมคลองภาษีเจริญช่วง[[วัดนิมมานรดี]]]]
[[ไฟล์:Old Village along Khlong Phasi Charoen (II).jpg|300px|thumb|right|ชุมชนไม้เก่า ริมคลองภาษีเจริญช่วง[[วัดนิมมานรดี]]]]
[[ไฟล์:View of Khlong Phasi Charoen near Bang Wa BTS Station.jpg|300px|thumb|right|คลองภาษีเจริญ บริเวณ[[สถานีบางหว้า]]]]
[[ไฟล์:View of Khlong Phasi Charoen near Bang Wa BTS Station.jpg|300px|thumb|right|คลองภาษีเจริญ บริเวณ[[สถานีบางหว้า]]]]


'''คลองภาษีเจริญ''' เริ่มต้นที่บริเวณปาก[[คลองบางกอกใหญ่]]และคลองบางขุนศรีมาบรรจบกัน ไปเชื่อม[[แม่น้ำท่าจีน]]ที่[[ตำบลดอนไก่ดี]] [[จังหวัดสมุทรสาคร]] รวมความยาว 28 กิโลเมตร โดย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ให้พระภาษีสมบัติบริบูรณ์ (ยิ้ม พิศลยบุตร) เจ้าภาษีฝิ่นเป็นแม่กองขุด ใช้เงินภาษีฝิ่นพระราชทานเป็นเงิน 112,000 บาท <ref>[http://www.psevikul.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539315193&Ntype=5 "ความรู้เรื่องคลองฉบับน้ำท่วมกรุงเทพฯ"] ลงพิมพ์ในนสพ.คม ชัด ลึก วันจันทร์ที่ 24 ตุลาคม [[พ.ศ. 2554]] </ref> พระราชทานนามว่า “คลองภาษีเจริญ” แล้วเสร็จในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เสด็จพระราชดำเนินเปิดคลองในปี [[พ.ศ. 2415]]<ref>[http://www.justythai.com/article?id=89454&lang=th "คลองภาษีเจริญ"]โดยเรไร ไพรวรรณ์ </ref> ได้คลองมีความยาว 620 เส้น กว้าง 7 วา ลึก 5 ศอก <ref>[http://www.chanpradit.ac.th/~nattinee/parn296451/a.html "ประวัติสำนักงานเขตภาษีเจริญ"] เขตภาษีเจริญ</ref> ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2428]] -[[พ.ศ. 2429]] และ[[พ.ศ. 2446]] ได้มีการขุดลอกอีกครั้ง<ref>[http://203.155.220.217/dotat/periodical_3_4_2547/p14-15.htm"พัฒนาคลองภาษีเจริญทำแหล่งท่องเที่ยวทางน้ำ "] โดย วัลย์รวี กองการขนส่ง สำนักการจราจรและขนส่ง (สจส.)
'''คลองภาษีเจริญ''' เริ่มต้นที่บริเวณปาก[[คลองบางกอกใหญ่]]และคลองบางขุนศรีมาบรรจบกัน ไปเชื่อม[[แม่น้ำท่าจีน]]ที่[[ตำบลดอนไก่ดี]] [[จังหวัดสมุทรสาคร]] รวมความยาว 28 กิโลเมตร โดย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ให้พระภาษีสมบัติบริบูรณ์ (ยิ้ม พิศลยบุตร) เจ้าภาษีฝิ่นเป็นแม่กองขุด ใช้เงินภาษีฝิ่นพระราชทานเป็นเงิน 112,000 บาท <ref>[http://www.psevikul.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539315193&Ntype=5 "ความรู้เรื่องคลองฉบับน้ำท่วมกรุงเทพฯ"] ลงพิมพ์ในนสพ.คม ชัด ลึก วันจันทร์ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2554 </ref> พระราชทานนามว่า “คลองภาษีเจริญ” แล้วเสร็จในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เสด็จพระราชดำเนินเปิดคลองในปี พ.ศ. 2415<ref>[http://www.justythai.com/article?id=89454&lang=th "คลองภาษีเจริญ"]โดยเรไร ไพรวรรณ์ </ref> ได้คลองมีความยาว 620 เส้น กว้าง 7 วา ลึก 5 ศอก <ref>[http://www.chanpradit.ac.th/~nattinee/parn296451/a.html "ประวัติสำนักงานเขตภาษีเจริญ"] เขตภาษีเจริญ</ref> ต่อมาในปี พ.ศ. 2428 - พ.ศ. 2429 และ พ.ศ. 2446 ได้มีการขุดลอกอีกครั้ง<ref>[http://203.155.220.217/dotat/periodical_3_4_2547/p14-15.htm"พัฒนาคลองภาษีเจริญทำแหล่งท่องเที่ยวทางน้ำ "] โดย วัลย์รวี กองการขนส่ง สำนักการจราจรและขนส่ง (สจส.)
</ref> [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้า ฯ ให้ทำพิธีเปิดคลองเมื่อวันที่ [[10 พฤษภาคม]]<ref>[http://www.snr.ac.th/wita/kalamung/index13.html "คลองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ และความเจริญเติบโตของกรุงธนบุรี"] แหล่งเรียนรู้ชุมชนฝั่งธนของเรา ฝ่ายบริหารประชาสัมพันธ์ โรงเรียนศึกษานารี</ref> มีประตูน้ำ 2 แห่ง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2450 เสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2452 คือ ประตูน้ำภาษีเจริญตอนนอก อยู่ใน[[เขตภาษีเจริญ]] และประตูน้ำภาษีเจริญตอนในอยู่ทางด้าน[[แม่น้ำท่าจีน]]
</ref> [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้า ฯ ให้ทำพิธีเปิดคลองเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม<ref>[http://www.snr.ac.th/wita/kalamung/index13.html "คลองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ และความเจริญเติบโตของกรุงธนบุรี"] แหล่งเรียนรู้ชุมชนฝั่งธนของเรา ฝ่ายบริหารประชาสัมพันธ์ โรงเรียนศึกษานารี</ref> มีประตูน้ำ 2 แห่ง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2450 เสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2452 คือ ประตูน้ำภาษีเจริญตอนนอก อยู่ใน[[เขตภาษีเจริญ]] และประตูน้ำภาษีเจริญตอนในอยู่ทางด้าน[[แม่น้ำท่าจีน]]
คลองภาษีเจริญ ไหลผ่านอาณาเขต[[เขตภาษีเจริญ]] [[เขตบางแค]] และ[[เขตหนองแขม]] [[กรุงเทพมหานคร]] และ[[อำเภอกระทุ่มแบน]] [[จังหวัดสมุทรสาคร]]
คลองภาษีเจริญ ไหลผ่านอาณาเขต[[เขตภาษีเจริญ]] [[เขตบางแค]] และ[[เขตหนองแขม]] [[กรุงเทพมหานคร]] และ[[อำเภอกระทุ่มแบน]] [[จังหวัดสมุทรสาคร]]


บรรทัด 50: บรรทัด 50:
[[หมวดหมู่:คลองในจังหวัดสมุทรสาคร|ภาษีเจริญ]]
[[หมวดหมู่:คลองในจังหวัดสมุทรสาคร|ภาษีเจริญ]]
[[หมวดหมู่:โบราณสถานในกรุงเทพมหานคร]]
[[หมวดหมู่:โบราณสถานในกรุงเทพมหานคร]]
[[หมวดหมู่:โบราณสถานในจังหวัดสมุทรสาคร]]
[[หมวดหมู่:โบราณสถานในจังหวัดสมุทรสาคร

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:00, 21 กุมภาพันธ์ 2564

คลองภาษีเจริญ เมื่อต้นปี พ.ศ. 2563 มองเห็นพระมหาเจดีย์มหารัชมงคลและพระพุทธธรรมกายเทพมงคล วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ
ชุมชนไม้เก่า ริมคลองภาษีเจริญช่วงวัดนิมมานรดี
ชุมชนไม้เก่า ริมคลองภาษีเจริญช่วงวัดนิมมานรดี
คลองภาษีเจริญ บริเวณสถานีบางหว้า

คลองภาษีเจริญ เริ่มต้นที่บริเวณปากคลองบางกอกใหญ่และคลองบางขุนศรีมาบรรจบกัน ไปเชื่อมแม่น้ำท่าจีนที่ตำบลดอนไก่ดี จังหวัดสมุทรสาคร รวมความยาว 28 กิโลเมตร โดยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้พระภาษีสมบัติบริบูรณ์ (ยิ้ม พิศลยบุตร) เจ้าภาษีฝิ่นเป็นแม่กองขุด ใช้เงินภาษีฝิ่นพระราชทานเป็นเงิน 112,000 บาท [1] พระราชทานนามว่า “คลองภาษีเจริญ” แล้วเสร็จในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินเปิดคลองในปี พ.ศ. 2415[2] ได้คลองมีความยาว 620 เส้น กว้าง 7 วา ลึก 5 ศอก [3] ต่อมาในปี พ.ศ. 2428 - พ.ศ. 2429 และ พ.ศ. 2446 ได้มีการขุดลอกอีกครั้ง[4] พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้า ฯ ให้ทำพิธีเปิดคลองเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม[5] มีประตูน้ำ 2 แห่ง สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2450 เสร็จเมื่อปี พ.ศ. 2452 คือ ประตูน้ำภาษีเจริญตอนนอก อยู่ในเขตภาษีเจริญ และประตูน้ำภาษีเจริญตอนในอยู่ทางด้านแม่น้ำท่าจีน คลองภาษีเจริญ ไหลผ่านอาณาเขตเขตภาษีเจริญ เขตบางแค และเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร และอำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร

ทดลองเดินเรือคลองภาษีเจริญ

ได้มีเปิดทดลองเดินเรือในคลองภาษีเจริญตลอดเส้นทางเดินเรือโดยสารคลองภาษีเจริญ จากท่าเรือ วัดปากน้ำภาษีเจริญถึงท่าเรือเพชรเกษม 69 กำหนดเริ่มทดลองเดินเรือและเปิดให้บริการประชาชนฟรี ตั้งแต่วันที่ 24 เมษายน – 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 [6] โดยเส้นทางเดินเรือโดยสารคลองภาษีเจริญ จากท่าเรือ วัดปากน้ำภาษีเจริญถึงท่าเรือเพชรเกษม 69 ระยะทาง 11.5 กิโลเมตร ประกอบด้วยท่าเรือ 15 ท่าต่อไป นี้ [7][8][9]

  • ท่าเรือประตูน้ำภาษีเจริญ - ออกซอยเพชรเกษม 19 เพื่อไปสถานีรถไฟฟ้า บางไผ่ ของ รถไฟฟ้ามหานครสายเฉลิมรัชมงคล (สายสีน้ำเงิน) โดย ฝั่งเหนือ ไปวัดนวลนรดิศ กับ โรงเรียนวัดนวลนรดิศ ส่วน ฝั่งใต้ไปวัดปากน้ำภาษีเจริญกับโรงเรียนสตรีวัดอัปสรสวรรค์ ได้
  • ท่าเรืออู่รถเมล์สาย 9 - มีรถประจำทางสาย 4, 9 และ 175 ผ่าน
  • ท่าเรือประชารัฐ - ฝั่งเหนือ ออกซอยเพชรเกษม 23 เพื่อไปโรงพยาบาลพญาไท 3 และ โรงพยาบาลบางไผ่ ได้
  • ท่าเรือสะพานตากสิน-เพชรเกษม - เชื่อมต่อสถานี บางหว้า ของรถไฟฟ้าบีทีเอส และ มหาวิทยาลัยสยามได้
  • ท่าเรือวัดอ่างแก้ว - ฝั่งเหนือ ออกซอยเพชรเกษม 27 ได้ ฝั่งใต้ออกวัดอ่างแก้วได้
  • ท่าเรือเพชรเกษม 31 - ออกซอยเพชรเกษม 31 เพื่อไปสถานีรถไฟฟ้า เพชรเกษม 48 ของ รถไฟฟ้ามหานครสายเฉลิมรัชมงคล (สายสีน้ำเงิน) ได้
  • ท่าเรือวัดรางบัว - ฝั่งเหนือ ออกซอยเพชรเกษม 33 ได้ และ ฝั่งใต้ไปวัดรางบัว
  • ท่าเรือเพชรเกษม 35 - ฝั่งเหนือ ออกซอยเพชรเกษม 35 เพื่อไปสถานีรถไฟฟ้า ภาษีเจริญ ของ รถไฟฟ้ามหานครสายเฉลิมรัชมงคล (สายสีน้ำเงิน) และ ซีคอนบางแค ได้
  • ท่าเรือเพชรเกษม 37 - ฝั่งเหนือ ออกซอยเพชรเกษม 37 เพื่อไปบ้านพักคนชราบางแค ได้
  • ท่าเรือเพชรเกษม 39 - ฝั่งเหนือ ออกซอยเพชรเกษม 39 เพื่อไป ตลาดบางแค ได้
  • ท่าเรือวัดนิมมานรดี - ฝั่งเหนือ ออกวัดนิมมานรดี ได้ ส่วนฝั่งใต้ออกตลาดวัดนิมมานรดี ได้
  • ท่าเรือเกษตร-บางแค - ไปสถานีรถไฟฟ้า บางแค ของ รถไฟฟ้ามหานครสายเฉลิมรัชมงคล (สายสีน้ำเงิน) ได้
  • ท่าเรือสะพานกาญจนาภิเษก - ไปสถานีรถไฟฟ้า หลักสอง ของ รถไฟฟ้ามหานครสายเฉลิมรัชมงคล (สายสีน้ำเงิน) และ เดอะมอลล์บางแค (ห่างจากท่าเรือสะพานกาญจนาภิเษก 2200 เมตร) ได้
  • ท่าเรือวัดม่วง - ฝั่งเหนือ ออก สถานีตำรวจนครบาลเพชรเกษมและ ห้างบิ๊กซีบางแค ได้ ส่วนฝั่งใต้ ออก วัดม่วงและ โรงเรียนปัญญาวรคุณได้
  • ท่าเรือเพชรเกษม 69 - ฝั่งเหนือออกตลาดคลองขวางและ ศาลพระพรหมได้ ได้

ส่วนตารางการเดินเรือโดยสารคลองภาษีเจริญ นั้น จะมีเดิน รอบเช้า ตั้งแต่ 6.00 น. ถึง 9.00 น. และ เดิน รอบเย็น ตั้งแต่ 16.00 น. ถึง 19.30 น. โดยวันจันทร์ถึงวันศุกร์ (ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์) จะมีเดินทุก 15 นาที ส่วนวันเสาร์ วันอาทิตย์ และ วันหยุดนักขัตฤกษ์ จะมีเดินทุก 30 นาที [10]

สถานที่สำคัญริมคลอง

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. "ความรู้เรื่องคลองฉบับน้ำท่วมกรุงเทพฯ" ลงพิมพ์ในนสพ.คม ชัด ลึก วันจันทร์ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2554
  2. "คลองภาษีเจริญ"โดยเรไร ไพรวรรณ์
  3. "ประวัติสำนักงานเขตภาษีเจริญ" เขตภาษีเจริญ
  4. "พัฒนาคลองภาษีเจริญทำแหล่งท่องเที่ยวทางน้ำ " โดย วัลย์รวี กองการขนส่ง สำนักการจราจรและขนส่ง (สจส.)
  5. "คลองที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ และความเจริญเติบโตของกรุงธนบุรี" แหล่งเรียนรู้ชุมชนฝั่งธนของเรา ฝ่ายบริหารประชาสัมพันธ์ โรงเรียนศึกษานารี
  6. "กทม.ทดลองเดินเรือคลองภาษีเจริญ ฟรี 24เม.ย.-4 พ.ย.นี้". วอยซ์ทีวี. สืบค้นเมื่อ 24 April 2014.
  7. "เปิดเดินเรือ'คลองภาษีเจริญ'พรุ่งนี้ทางเลือกใหม่การเดินทางของคนกรุง". เดลินิวส์. สืบค้นเมื่อ 23 April 2014.
  8. "แผนที่เส้นทางเดินเรือคลองภาษีเจริญ". กองการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร. สืบค้นเมื่อ 23 April 2014.
  9. "แผนที่ท่าเทียบเรือและสถานีที่สำคัญ". กองการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร. สืบค้นเมื่อ 23 April 2014.
  10. "ตารางเดินเรือคลองภาษีเจริญ". กองการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร. สืบค้นเมื่อ 30 April 2014.

แหล่งข้อมูลอื่น

13°38′00″N 100°14′00″E / 13.633333°N 100.233333°E / 13.633333; 100.233333

[[หมวดหมู่:โบราณสถานในจังหวัดสมุทรสาคร