ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สภานักเรียน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับไอโอเอส
 
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
== สภานักเรียนในประเทศไทย ==
== สภานักเรียนในประเทศไทย ==
ในประเทศไทย ในระบบการศึกษาขั้นพื้นฐาน จะมีการจัดตั้งสภานักเรียนในแต่ละโรงเรียน จะแยกจากคณะกรรมการนักเรียน โดยการจำลองเสมือนระบบนิติบัญญัติ และ ระบบบริหาร ของระบอบประชาธิปไตย โดยให้สภานักเรียนเปรียบเสมือน ฝ่ายนิติบัญญัติ และ คณะกรรมการนักเรียน เสมือนเป็นฝ่ายบริหาร ซึ่งในบางโรงเรียนนั้น ยังใช้ระบบคณะกรรมการนักเรียนอย่างเดียวอยู่ และ มีการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย ซึ่งสมาชิกประกอบไปด้วย ประธานสภาเด็กและเยาวชนของทุกจังหวัด รวมทั้งจังหวัดกรุงเทพมหานคร ตามมาตราที่ 32 ใน พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ [[พ.ศ. 2550]]
ในประเทศไทย ในระบบการศึกษาขั้นพื้นฐาน จะมีการจัดตั้งสภานักเรียนในแต่ละโรงเรียน จะแยกจากคณะกรรมการนักเรียน โดยการจำลองเสมือนระบบนิติบัญญัติ และ ระบบบริหาร ของระบอบประชาธิปไตย โดยให้สภานักเรียนเปรียบเสมือน ฝ่ายนิติบัญญัติ และ คณะกรรมการนักเรียน เสมือนเป็นฝ่ายบริหาร ซึ่งในบางโรงเรียนนั้น ยังใช้ระบบคณะกรรมการนักเรียนอย่างเดียวอยู่ และ มีการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย ซึ่งสมาชิกประกอบไปด้วย ประธานสภาเด็กและเยาวชนของทุกจังหวัด รวมทั้งจังหวัดกรุงเทพมหานคร ตามมาตราที่ 32 ใน พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ [[พ.ศ. 2550]]
ส่วนในระดับอุดมศึกษานั้น ก็มีการจัดตั้งหน่วยกิจกรรมของนักศึกษาเช่นกัน ซึ่งรับผิดชอบโดยฝ่ายพัฒนาศักยภาพนักศึกษา โดยมีการจัดตั้ง สภานักศึกษา กับ องค์กรนักศึกษา (Student Organization) ซึ่งมีโครงสร้างที่คล้ายคลึงกันส่วนใหญ่จะเป็นประธานนักเรียน
ส่วนในระดับอุดมศึกษานั้น ก็มีการจัดตั้งหน่วยกิจกรรมของนักศึกษาเช่นกัน ซึ่งรับผิดชอบโดยฝ่ายพัฒนาศักยภาพนักศึกษา โดยมีการจัดตั้ง สภานักศึกษา ซึ่งมีโครงสร้างที่คล้ายคลึงกันส่วนใหญ่จะเป็นประธานนักเรียน


[[หมวดหมู่:องค์กรเยาวชน]]
[[หมวดหมู่:องค์กรเยาวชน]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 18:13, 18 กุมภาพันธ์ 2564

สภานักเรียน (อังกฤษ: Student Council) เป็นกิจกรรมนอกหลักสูตร ในโรงเรียนระดับมัธยมทั่วโลก ในประเทศสหรัฐอเมริกา , แคนาดา และ ออสเตรเลีย นั้นเรียกสภานักเรียนหลายแบบมากนอกจากชื่อนี้ เช่น รัฐบาลนักเรียน (Student government) หรือ สภากิจกรรมนักเรียน (Student Activity Council), สหพันธ์สภานักเรียน (Student Council Association or S.C.A) และ คณะกรรมการนักเรียน (Student Committee) สภานักเรียนนั้นมีวัตถุประสงค์ที่จัดตั้งขึ้นมาเพื่อให้รู้จักการมีส่วนร่วม เรียนรู้เกี่ยวกับประชาธิปไตย และ เรียนรู้การเป็นผู้นำ ซึ่งเป็นแนวคิดเดิมของ จอห์น ดิวอี้ นักปรัชญาทางการศึกษา ซึ่งกล่าวไว้ใน ประชาธิปไตยกับการศึกษา (พ.ศ. 2460) และโรงเรียนที่ใช้ระบบสภานักเรียนเป็นแห่งแรกก็คือโรงเรียนลูมิส ชาร์เฟ่ย์ ในเมืองวินซอร์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งใช้เป็นกิจกรรมในหลักสูตร ประมาณ ปี พ.ศ. 2463 ในประเทศไทย โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา เป็นโรงเรียนแห่งแรกที่ใช้ระบบสภานักเรียน คือ คณะกรรมการนักเรียน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา[ต้องการอ้างอิง]

สภานักเรียนในประเทศไทย[แก้]

ในประเทศไทย ในระบบการศึกษาขั้นพื้นฐาน จะมีการจัดตั้งสภานักเรียนในแต่ละโรงเรียน จะแยกจากคณะกรรมการนักเรียน โดยการจำลองเสมือนระบบนิติบัญญัติ และ ระบบบริหาร ของระบอบประชาธิปไตย โดยให้สภานักเรียนเปรียบเสมือน ฝ่ายนิติบัญญัติ และ คณะกรรมการนักเรียน เสมือนเป็นฝ่ายบริหาร ซึ่งในบางโรงเรียนนั้น ยังใช้ระบบคณะกรรมการนักเรียนอย่างเดียวอยู่ และ มีการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนแห่งประเทศไทย ซึ่งสมาชิกประกอบไปด้วย ประธานสภาเด็กและเยาวชนของทุกจังหวัด รวมทั้งจังหวัดกรุงเทพมหานคร ตามมาตราที่ 32 ใน พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ส่วนในระดับอุดมศึกษานั้น ก็มีการจัดตั้งหน่วยกิจกรรมของนักศึกษาเช่นกัน ซึ่งรับผิดชอบโดยฝ่ายพัฒนาศักยภาพนักศึกษา โดยมีการจัดตั้ง สภานักศึกษา ซึ่งมีโครงสร้างที่คล้ายคลึงกันส่วนใหญ่จะเป็นประธานนักเรียน