ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษรกอท"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aefgh3962 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Aefgh3962 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 107: บรรทัด 107:


[[หมวดหมู่:อักษร]]
[[หมวดหมู่:อักษร]]

{{ระบบการเขียน}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:14, 14 กุมภาพันธ์ 2564

อักษรกอธิก เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษากอธิก โดยอุลฟิลัสเป็นผู้คิดค้นอักษรชุดนี้เมื่อราวคริสต์ศตวรรษที่ 4 โดยมีจุดประสงค์เพื่ออำนวยความสะดวกในการแปลคัมภีร์ไบเบิล[1]

อักษรกอธิกใช้รูปอันเชียล (uncial) ของอักษรกรีกแต่ละตัว และได้มีการคิดค้นตัวอักษรเพิ่มบางตัวเพื่อให้สามารถแทนเสียงในภาษากอธิกได้ครบ

ตัวอักษร

ตัวอักษร ถอดถ่ายเป็นอักษรละติน เทียบอักษรกรีก ชื่อ IPA ค่าตัวเลข รหัส XML
𐌰 a Α ahsa / aza /a, aː/ 1 𐌰
𐌱 b Β bairkan / bercna /b, β/ 2 𐌱
𐌲 g Γ giba / geuua /ɡ, ŋ/ 3 𐌲
𐌳 d Δ dags / daaz /d, ð/ 4 𐌳
𐌴 e Ε aiƕus / eyz /e, eː/ 5 𐌴
𐌵 q 16x16像素 (Ϛ), ϰ qairþra (qairthra) / qertra /kʷ/ 6 𐌵
𐌶 z Ζ ezec /z/ 7 𐌶
𐌷 h H hagl / haal /h/ 8 𐌷
𐌸 þ, th Θ þiuþ (thiuth) / thyth /θ/ 9 𐌸
𐌹 i Ι eis / iiz /i, iː/ 10 𐌹
𐌺 k Κ kusma / chozma /k/ 20 𐌺
𐌻 l Λ lagus / laaz /l/ 30 𐌻
𐌼 m Μ manna /m/ 40 𐌼
𐌽 n Ν nauþs (nauths) / noicz /n/ 50 𐌽
𐌾 j jer / gaar /j/ 60 𐌾
𐌿 u urus / uraz /u, uː/ 70 𐌿
𐍀 p Π pairþra (pairthra) / pertra /p/ 80 𐍀
𐍁 Ϟ 90 𐍁
𐍂 r R raida / reda /r/ 100 𐍂
𐍃 s S sauil / sugil /s/ 200 𐍃
𐍄 t Τ teiws / tyz /t/ 300 𐍄
𐍅 w Υ winja / uuinne /w, y/ 400 𐍅
𐍆 f F faihu / fe /f/ 500 𐍆
𐍇 x Χ iggws / enguz /kʰ/ 600 𐍇
𐍈 ƕ, hw ƕair / uuaer /ʍ/ 700 𐍈
𐍉 o Ω oþal (othal) / utal /o, oː/ 800 𐍉
𐍊 Ϡ 900 𐍊

อักษรกอธิกในยูนิโคด

อักษรกอธิกถูกเพิ่มในยูนิโคดในรุ่น 3.1 ซึ่งออกเมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2544 มีช่วงยูนิโคดอยู่ที่ U+10330–U+1034F

กอท[1][2]
ผังอักขระทางการของยูนิโคดคอนซอร์เทียม (PDF)
  0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F
U+1033x 𐌰 𐌱 𐌲 𐌳 𐌴 𐌵 𐌶 𐌷 𐌸 𐌹 𐌺 𐌻 𐌼 𐌽 𐌾 𐌿
U+1034x 𐍀 𐍁 𐍂 𐍃 𐍄 𐍅 𐍆 𐍇 𐍈 𐍉 𐍊
หมายเหตุ
1.^ อ้างอิงจากยูนิโคดรุ่น 13.0
2.^ ช่องที่เป็นสีเทาหมายถึงช่องที่ไม่ได้มีการกำหนดอักขระใด ๆ ไว้

อ้างอิง

  1. According to the testimony of the historians Philostorgius, Socrates of Constantinople and Sozomen. Cf. Streitberg (1910:20).

แหล่งข้อมูลอื่น