ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัตถุอาร์โรคอท"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AekwatNs (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
| ชื่อดาว = อาร์โรคอท
| ชื่อดาว = อาร์โรคอท
| สัญลักษณ์ =
| สัญลักษณ์ =
| ภาพ = [[File:Arrokoth.jpg|thumb|]]
| ภาพ = [[ไฟล์:Arrokoth.jpg|200px]]
| คำอธิบายภาพ =
| คำอธิบายภาพ =
| ใส่การค้นพบ? (yes/no) = yes
| ใส่การค้นพบ? (yes/no) = yes
บรรทัด 84: บรรทัด 84:


}}
}}
'''วัตถุอาร์โรคอท'''([[ภาษาอังกฤษ]]: ''Arrokoth'')นี้เป็นวัตถุอวกาศที่ไกลที่สุดที่มนุษย์สำรวจได้ มีชื่อในระบบว่า2014 MU69 ถูกค้นพบเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2557 โดย [[Marc Buie]] นักดาราศาสตร์ชาวอเมริกัน และทีมงานผู้สร้าง[[ยานนิวฮอไรซันส์]]จากการใช้[[กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล]]ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการสังเกตุวัตถุใน[[แถบไคเปอร์]]ของภารกิจ[[ยานนิวฮอไรซันส์]] วัตถุอาร์โรคอทนี้มีคาบดาราคติ(ความเร็วในการโคจรรอบดวงอาทิตย์) 298 ปี จากการสำรวจของ[[ยานนิวฮอไรซันส์]]พบว่าวัตถุอาร์โรคอทนี้แบนกว่าที่คิดไว้ ซึ่งเดิมทีนักดาราศาสตร์คาดว่ามีลักษณะกลมคล้ายตุ๊กตาหิมะ ด้วยลักษณะที่มีโค้งเว้าตรงกลางและพื้นผิวที่เรียบนี้ทำให้นักวิทยาศาสตร์เข้าใจการเกิดดาวเคราะห์มากขึ้น โดยจากการสำรวจครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าดาวเคราะห์ไม่ได้เกิดจากการชนกันของอุกกาบาต แต่เกิดจากการค่อยๆเกาะกันของเศษฝุ่นขนาดเล็ก ซึ่งหักล้างความแนวคิดเดิมที่ว่าดาวเคราะห์เกิดจากการชนกันของอุกกาบาต
'''วัตถุอาร์โรคอท''' ([[ภาษาอังกฤษ]]: ''Arrokoth'') เป็นวัตถุอวกาศที่ไกลที่สุดที่มนุษย์สำรวจได้ มีชื่อในระบบว่า 2014 MU69 ถูกค้นพบเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2557 โดย [[Marc Buie]] นักดาราศาสตร์ชาวอเมริกัน และทีมงานผู้สร้าง[[ยานนิวฮอไรซันส์]]จากการใช้[[กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล]]ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการสังเกตุวัตถุใน[[แถบไคเปอร์]]ของภารกิจ[[ยานนิวฮอไรซันส์]] วัตถุอาร์โรคอทนี้มีคาบดาราคติ (ความเร็วในการโคจรรอบดวงอาทิตย์) 298 ปี จากการสำรวจของ[[ยานนิวฮอไรซันส์]]พบว่าวัตถุอาร์โรคอทนี้แบนกว่าที่คิดไว้ ซึ่งเดิมทีนักดาราศาสตร์คาดว่ามีลักษณะกลมคล้าย[[ตุ๊กตาหิมะ]] ด้วยลักษณะที่มีโค้งเว้าตรงกลางและพื้นผิวที่เรียบนี้ทำให้นักวิทยาศาสตร์เข้าใจการเกิดดาวเคราะห์มากขึ้น โดยจากการสำรวจครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าดาวเคราะห์ไม่ได้เกิดจากการชนกันของอุกกาบาต แต่เกิดจากการค่อยๆเกาะกันของเศษฝุ่นขนาดเล็ก ซึ่งหักล้างความแนวคิดเดิมที่ว่าดาวเคราะห์เกิดจากการชนกันของอุกกาบาต

==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
[https://www.bbc.com/thai/features-51504544 ยานนิวฮอไรซันส์ให้ข้อมูลใหม่ ปฏิวัติแนวคิดเรื่องการก่อตัวของดาวเคราะห์],BBC News, สืบค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2564.


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
[https://www.nasa.gov/feature/far-far-away-in-the-sky-new-horizons-kuiper-belt-flyby-object-officially-named-arrokoth Far, Far Away in the Sky: New Horizons Kuiper Belt Flyby Object Officially Named 'Arrokoth'], [[นาซา|NASA]], สืบค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2564.
{{Commons category|486958 Arrokoth}}


[https://en.m.wikipedia.org/wiki/486958_Arrokoth 486958 Arrokoth], Wikipedia English,สืบค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2564.
* [https://www.bbc.com/thai/features-51504544 ยานนิวฮอไรซันส์ให้ข้อมูลใหม่ ปฏิวัติแนวคิดเรื่องการก่อตัวของดาวเคราะห์],BBC News, สืบค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ .ศ. 2564
* [https://www.nasa.gov/feature/far-far-away-in-the-sky-new-horizons-kuiper-belt-flyby-object-officially-named-arrokoth Far, Far Away in the Sky: New Horizons Kuiper Belt Flyby Object Officially Named 'Arrokoth'], [[นาซา|NASA]], สืบค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2564
* [https://solarsystem.nasa.gov/solar-system/kuiper-belt/arrokoth-2014-mu69/overview/ Arrokoth ({{mp|2014 MU|69}}): Most Distant Object Explored Up Close] at NASA Solar System Exploration
* [http://pluto.jhuapl.edu/Arrokoth/Arrokoth.php About Arrokoth ({{mp|2014 MU|69}})]
* [http://pluto.jhuapl.edu/soc/Arrokoth-Encounter/ LORRI Images from the Arrokoth Flyby]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:40, 4 กุมภาพันธ์ 2564

อาร์โรคอท
การค้นพบ
ค้นพบโดย:Marc William Buie
ยานนิวฮอไรซันส์
ค้นพบเมื่อ:14 มิถุนายน 2557
ชื่ออื่น ๆ:Ultima Thule (อัลติมา ทูเล)
ชนิดของดาวเคราะห์น้อย:วัตถุพ้นดาวเนปจูน
วัตถุในแถบไคเปอร์
ลักษณะของวงโคจร
ระยะจุดไกล
ดวงอาทิตย์ที่สุด
:
46.442 หน่วยดาราศาสตร์
ระยะจุดใกล้
ดวงอาทิตย์ที่สุด
:
42.721 หน่วยดาราศาสตร์
ความเยื้องศูนย์กลาง:0.04172
คาบดาราคติ:297.67 ปี
ลองจิจูด
ของจุดโหนดขึ้น
:
158.998°

วัตถุอาร์โรคอท (ภาษาอังกฤษ: Arrokoth) เป็นวัตถุอวกาศที่ไกลที่สุดที่มนุษย์สำรวจได้ มีชื่อในระบบว่า 2014 MU69 ถูกค้นพบเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2557 โดย Marc Buie นักดาราศาสตร์ชาวอเมริกัน และทีมงานผู้สร้างยานนิวฮอไรซันส์จากการใช้กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการสังเกตุวัตถุในแถบไคเปอร์ของภารกิจยานนิวฮอไรซันส์ วัตถุอาร์โรคอทนี้มีคาบดาราคติ (ความเร็วในการโคจรรอบดวงอาทิตย์) 298 ปี จากการสำรวจของยานนิวฮอไรซันส์พบว่าวัตถุอาร์โรคอทนี้แบนกว่าที่คิดไว้ ซึ่งเดิมทีนักดาราศาสตร์คาดว่ามีลักษณะกลมคล้ายตุ๊กตาหิมะ ด้วยลักษณะที่มีโค้งเว้าตรงกลางและพื้นผิวที่เรียบนี้ทำให้นักวิทยาศาสตร์เข้าใจการเกิดดาวเคราะห์มากขึ้น โดยจากการสำรวจครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าดาวเคราะห์ไม่ได้เกิดจากการชนกันของอุกกาบาต แต่เกิดจากการค่อยๆเกาะกันของเศษฝุ่นขนาดเล็ก ซึ่งหักล้างความแนวคิดเดิมที่ว่าดาวเคราะห์เกิดจากการชนกันของอุกกาบาต

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น