ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การร้องเพลง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8431139 สร้างโดย 202.143.166.6 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 15: บรรทัด 15:
| oclc=10418423
| oclc=10418423
}}</ref> นักร้องมืออาชีพจะสร้างหนทางสู่อาชีพด้วยการเป็นนักร้องในแนวเพลงต่าง ๆ อย่างเช่น นักร้องคลาสสิก นักร้องร็อก พวกเขาต้องฝึกทักษะการร้องในแนวเพลงนั้น ทั้งจากครูสอนร้องหรือโค้ชร้อง ในอาชีพของพวกเขา
}}</ref> นักร้องมืออาชีพจะสร้างหนทางสู่อาชีพด้วยการเป็นนักร้องในแนวเพลงต่าง ๆ อย่างเช่น นักร้องคลาสสิก นักร้องร็อก พวกเขาต้องฝึกทักษะการร้องในแนวเพลงนั้น ทั้งจากครูสอนร้องหรือโค้ชร้อง ในอาชีพของพวกเขา

5 เทคนิคสู่การเป็นนักร้องมืออาชีพ

1. ท่วงท่า

สำหรับท่าทางนั้นเป็นสิ่งที่ไม่มีการกำหนดรูปแบบตายตัว ซึ่งท่าทางในการร้องที่เหมาะสมนั้นควรเป็นไปเองโดยธรรมชาติ วางตัวตามสบายอยู่ในท่าที่ผ่อนคลายไม่เกร็งตัว เมื่อเราเริ่มมีความมั่นใจและกล้าแสดงออกมากขึ้น ให้หันมาโฟกัสไปที่บุคลิกของตัวเรา

เริ่มจากยืนตรงให้รู้สึกว่ากระดูกสันหลังรับน้ำหนักทั้งหมด ฝึกยกหัว เชิดหน้า ไหล่ตรง แขม่วท้อง หลังตรง ไม่เกร็งตัว อาจจะฟังดูยุ่งยากแต่ท่วงท่าเหล่านี้ล้วนส่งผลกับการออกเสียงและบุคลิกในการร้อง ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการดึงดูดสายตาของผู้ชม โดยการฝึกซ้อมหน้ากระจกเป็นประจำจะช่วยให้ประสบผลสำเร็จในข้อนี้ง่ายมากยิ่งขึ้น

2. ฝึกการหายใจ

แน่นอนว่าการหายใจนั้นคือหลักสำคัญของการร้องเพลง การร้องเพลงที่ไพเราะได้นั้นต้องเริ่มจากฝึกเทคนิคในการหายใจ เพราะเสียงร้องเกิดขึ้นจากลมที่ผ่านหลอดเสียงและออกมาจากปาก โดยเราจะต้องฝึกการเก็บลมไว้ใช้เปล่งเสียงและหาจังหวะในการหายใจเข้าออกให้เหมาะสม

สำหรับการฝึกเก็บลมหายใจนั้นให้ยืนตัวตรงหายใจเข้าให้สุด กลั่นไว้สักครู่แล้วค่อยๆ ผ่อนลมให้ใจออกนับ 1-5 เป็นประจำจะช่วยบริหารปอดและทำให้เราเก็บลมหายใจได้ดีขึ้น นอกจากนั้นให้พยายามรักษาสุขภาพอย่าให้เป็นหวัด เจ็บคอหรือต่อมทอมซินอักเสบ อย่าขากเสมหะแรงๆ หรือสั่งน้ำมูกแรงๆ หลีกเลี่ยงการดื่มสุราหรือสูบบุหรี่จัดจะมีผลทำให้ปอดและหลอดลมอักเสบ

3. เปล่งเสียง

เสียงของเราก็ไม่ต่างอะไรจากตู้แอมป์กีตาร์ดี ๆ สักตัว เสียงเกิดจากการสั่นสะเทือนภายในลำคอ และหลอดเสียง มีปากเป็นตัวเปล่งเสียง ดังนั้นในขณะที่ร้องเพลงจะรู้สึกถึงเสียงที่พุ่งไปข้างหน้า ระวังอย่าเกร็งคอหรือหน้า อย่าเกร็งลิ้น หรือกระดกลิ้นขึ้น เพราะจะไปบังให้เสียงที่ออกมาดูอั้นและเกร็ง ไม่น่าฟังสักเท่าไหร่ แสดงถึงการเปล่งเสียงที่ผิดและไม่มีคุณภาพ

การฝึกฝนการเปล่งเสียงที่ทำได้ง่ายก็คือ เลือกเพลงมาหนึ่งเพลงพยายามฟังและออกเสียงตาม กักเก็บลมหายให้ใจที่ใช้สำหรับท่อนต่างๆ ฝึกซ้ำพยายามออกเสียงทุกตัวโน๊ตได้โดยที่เสียงไม่ขาดช่วง การทำแบบนี้กับหลายๆเพลงจะช่วยให้เราสามารถเปล่งเสียที่ถูกต้องและมีคุณภาพได้

4. เข้าถึงอารมณ์เพลง

ถึงแม้ว่าจะร้องเพลงเพราะแต่ถ้าไร้ซึ่งอารมณ์แล้ว ก็คงทำให้บทเพลงๆนั้นขาดความน่าฟัง เพราะการขับร้องนั้นก็เหมือนกับสื่ออารมณ์ สื่อความหมาย จากเนื้อเพลงที่ผู้แต่งต้องการถ่ายทอด โดยตัวผู้ร้องจำเป็นต้องตีความหมายเนื้อร้องและร้องออกมาด้วยความรู้สึกนั้นจริงๆ จึงจะสามารถถ่ายทอดอารมณ์เพลงออกมาได้อย่างลึกซึ้ง

สำหรับวิธีการฝึกสื่ออารมณ์เพลงนั้นให้เริ่มจากการอ่านและตีความหมายของเนื้อเพลงเสียก่อน ให้จินตนาการสมมุติเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เมื่อเข้าถึงอารมณ์แล้วจึงค่อยเรียบเรียงคำร้องออกมาตามความรู้สึก หลังจากนั้นจึงค่อยมาปรับแต่งการเอื้อนหรือการใช้เสียงที่เน้นลงในท่อนต่างๆ ที่ละจุดอย่างเหมาะสม

5. เลือกใช้ไมโครโฟน

เมื่อร้องเพลงได้ดีขึ้นตามลำดับแล้ว ไมค์คืออุปกรณ์เสริมสำคัญที่จะถ่ายทอดเสียงของเรา เปรียบเสมือนเครื่องดนตรีชิ้นหนึ่งที่ยกระดับ performance ของเราให้ดียิ่งขึ้น ข้อสำคัญคือไมค์ส่วนตัวจะมีความปลอดภัยมากกว่า เพราะไมค์บนเวทีที่มีให้อาจเป็นเหมือนกับแหล่งสะสมเชื้อโรคซึ่งอาจจะทำให้ป่วยได้ นอกจากนั้นไมค์แต่ละตัวยังมีไดนามิคต่างกัน เมื่อเป็นไมค์ของเราเอง เราย่อมชำนาญการใช้งานได้ดีกว่า

ไมค์ส่วนตัวจึงถือเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นสำหรับนักร้อง ซึ่งไมค์ที่ดีควรมีคุณสมบัติที่รับเสียงได้ดี ช่วยเซฟลำคอเราเวลาร้อง และต้องมีราคาที่ไม่แพงเว่อร์จนเกินไป อย่างเช่นไมค์ Carol ก็ถือเป็นตัวเลือกที่ดี มีหลากหลายรุ่นให้เลือกตามการใช้งาน ซึ่งเราขอแนะนำให้คุณได้ลองก่อนตัดสินใจซื้อไมโครโฟนสักตัว รับรองไม่มีผิดหวัง! <ref>{{Cite web|title=Cin Guitars|url=http://www.cinguitars.com/event_detail.php?id=37|website=www.cinguitars.com}}</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:03, 20 มกราคม 2564

แพตตี สมิธ นักร้องและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน กำลังร้องเพลงสดใน ค.ศ. 2007

การร้องเพลง หรือ การขับร้อง คือการทำให้เกิดเสียงดนตรีจากเสียงและเสริมด้วยถ้อยคำทั้งระบบเสียงสูงต่ำและจังหวะ คนที่ขับร้องเพลงเรียกว่านักร้อง และนักร้องจะแสดงการขับร้องเพลง ซึ่งอาจจะร้องแบบอะแคปเปลา (ร้องโดยไม่ใช้ดนตรี) หรือมีนักดนตรี เครื่องดนตรีประกอบ ไม่ว่าจะเป็นเครื่องดนตรีตัวเดียวหรือเต็มวง การร้องนั้นส่วนใหญ่จะร้องร่วมการแสดงกับนักดนตรีกลุ่มอื่น ไม่ว่าจ่ะเป็นกลุ่มคอรัสที่ร้องในเสียงที่แตกต่างกัน หรือกลุ่มนักเล่นดนตรี อย่างเช่นวงร็อกเป็นต้น

การร้องเพลงนั้นอาจร้องแบบไม่เป็นทางการ ร้องเพื่อความบันเทิง อย่างเช่นร้องระหว่างการอาบน้ำ ร้องคาราโอเกะ หรือในบางกรณีร้องอย่างเป็นทางการ เช่นร้องในระหว่างพิธีทางศาสนา หรือนักร้องอาชีพร้องเพื่อแสดงบนเวทีหรือร้องในสตูดิโอ การร้องที่มีทักษะสูงหรือร้องในระดับอาชีพ มักจะต้องอาศัยความสามารถแต่กำเนิด การเรียนการสอน และการฝึกฝน[1] นักร้องมืออาชีพจะสร้างหนทางสู่อาชีพด้วยการเป็นนักร้องในแนวเพลงต่าง ๆ อย่างเช่น นักร้องคลาสสิก นักร้องร็อก พวกเขาต้องฝึกทักษะการร้องในแนวเพลงนั้น ทั้งจากครูสอนร้องหรือโค้ชร้อง ในอาชีพของพวกเขา

5 เทคนิคสู่การเป็นนักร้องมืออาชีพ

1. ท่วงท่า

สำหรับท่าทางนั้นเป็นสิ่งที่ไม่มีการกำหนดรูปแบบตายตัว ซึ่งท่าทางในการร้องที่เหมาะสมนั้นควรเป็นไปเองโดยธรรมชาติ วางตัวตามสบายอยู่ในท่าที่ผ่อนคลายไม่เกร็งตัว เมื่อเราเริ่มมีความมั่นใจและกล้าแสดงออกมากขึ้น ให้หันมาโฟกัสไปที่บุคลิกของตัวเรา

เริ่มจากยืนตรงให้รู้สึกว่ากระดูกสันหลังรับน้ำหนักทั้งหมด ฝึกยกหัว เชิดหน้า ไหล่ตรง แขม่วท้อง หลังตรง ไม่เกร็งตัว อาจจะฟังดูยุ่งยากแต่ท่วงท่าเหล่านี้ล้วนส่งผลกับการออกเสียงและบุคลิกในการร้อง ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการดึงดูดสายตาของผู้ชม โดยการฝึกซ้อมหน้ากระจกเป็นประจำจะช่วยให้ประสบผลสำเร็จในข้อนี้ง่ายมากยิ่งขึ้น

2. ฝึกการหายใจ

แน่นอนว่าการหายใจนั้นคือหลักสำคัญของการร้องเพลง การร้องเพลงที่ไพเราะได้นั้นต้องเริ่มจากฝึกเทคนิคในการหายใจ เพราะเสียงร้องเกิดขึ้นจากลมที่ผ่านหลอดเสียงและออกมาจากปาก โดยเราจะต้องฝึกการเก็บลมไว้ใช้เปล่งเสียงและหาจังหวะในการหายใจเข้าออกให้เหมาะสม

สำหรับการฝึกเก็บลมหายใจนั้นให้ยืนตัวตรงหายใจเข้าให้สุด กลั่นไว้สักครู่แล้วค่อยๆ ผ่อนลมให้ใจออกนับ 1-5 เป็นประจำจะช่วยบริหารปอดและทำให้เราเก็บลมหายใจได้ดีขึ้น นอกจากนั้นให้พยายามรักษาสุขภาพอย่าให้เป็นหวัด เจ็บคอหรือต่อมทอมซินอักเสบ อย่าขากเสมหะแรงๆ หรือสั่งน้ำมูกแรงๆ หลีกเลี่ยงการดื่มสุราหรือสูบบุหรี่จัดจะมีผลทำให้ปอดและหลอดลมอักเสบ

3. เปล่งเสียง

เสียงของเราก็ไม่ต่างอะไรจากตู้แอมป์กีตาร์ดี ๆ สักตัว เสียงเกิดจากการสั่นสะเทือนภายในลำคอ และหลอดเสียง มีปากเป็นตัวเปล่งเสียง ดังนั้นในขณะที่ร้องเพลงจะรู้สึกถึงเสียงที่พุ่งไปข้างหน้า ระวังอย่าเกร็งคอหรือหน้า อย่าเกร็งลิ้น หรือกระดกลิ้นขึ้น เพราะจะไปบังให้เสียงที่ออกมาดูอั้นและเกร็ง ไม่น่าฟังสักเท่าไหร่ แสดงถึงการเปล่งเสียงที่ผิดและไม่มีคุณภาพ

การฝึกฝนการเปล่งเสียงที่ทำได้ง่ายก็คือ เลือกเพลงมาหนึ่งเพลงพยายามฟังและออกเสียงตาม กักเก็บลมหายให้ใจที่ใช้สำหรับท่อนต่างๆ ฝึกซ้ำพยายามออกเสียงทุกตัวโน๊ตได้โดยที่เสียงไม่ขาดช่วง การทำแบบนี้กับหลายๆเพลงจะช่วยให้เราสามารถเปล่งเสียที่ถูกต้องและมีคุณภาพได้

4. เข้าถึงอารมณ์เพลง

ถึงแม้ว่าจะร้องเพลงเพราะแต่ถ้าไร้ซึ่งอารมณ์แล้ว ก็คงทำให้บทเพลงๆนั้นขาดความน่าฟัง เพราะการขับร้องนั้นก็เหมือนกับสื่ออารมณ์ สื่อความหมาย จากเนื้อเพลงที่ผู้แต่งต้องการถ่ายทอด โดยตัวผู้ร้องจำเป็นต้องตีความหมายเนื้อร้องและร้องออกมาด้วยความรู้สึกนั้นจริงๆ จึงจะสามารถถ่ายทอดอารมณ์เพลงออกมาได้อย่างลึกซึ้ง

สำหรับวิธีการฝึกสื่ออารมณ์เพลงนั้นให้เริ่มจากการอ่านและตีความหมายของเนื้อเพลงเสียก่อน ให้จินตนาการสมมุติเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เมื่อเข้าถึงอารมณ์แล้วจึงค่อยเรียบเรียงคำร้องออกมาตามความรู้สึก หลังจากนั้นจึงค่อยมาปรับแต่งการเอื้อนหรือการใช้เสียงที่เน้นลงในท่อนต่างๆ ที่ละจุดอย่างเหมาะสม

5. เลือกใช้ไมโครโฟน

เมื่อร้องเพลงได้ดีขึ้นตามลำดับแล้ว ไมค์คืออุปกรณ์เสริมสำคัญที่จะถ่ายทอดเสียงของเรา เปรียบเสมือนเครื่องดนตรีชิ้นหนึ่งที่ยกระดับ performance ของเราให้ดียิ่งขึ้น ข้อสำคัญคือไมค์ส่วนตัวจะมีความปลอดภัยมากกว่า เพราะไมค์บนเวทีที่มีให้อาจเป็นเหมือนกับแหล่งสะสมเชื้อโรคซึ่งอาจจะทำให้ป่วยได้ นอกจากนั้นไมค์แต่ละตัวยังมีไดนามิคต่างกัน เมื่อเป็นไมค์ของเราเอง เราย่อมชำนาญการใช้งานได้ดีกว่า

ไมค์ส่วนตัวจึงถือเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นสำหรับนักร้อง ซึ่งไมค์ที่ดีควรมีคุณสมบัติที่รับเสียงได้ดี ช่วยเซฟลำคอเราเวลาร้อง และต้องมีราคาที่ไม่แพงเว่อร์จนเกินไป อย่างเช่นไมค์ Carol ก็ถือเป็นตัวเลือกที่ดี มีหลากหลายรุ่นให้เลือกตามการใช้งาน ซึ่งเราขอแนะนำให้คุณได้ลองก่อนตัดสินใจซื้อไมโครโฟนสักตัว รับรองไม่มีผิดหวัง! [2]

อ้างอิง

  1. Falkner, Keith, บ.ก. (1983). Voice. Yehudi Menuhin music guides. London: MacDonald Young. p. 26. ISBN 035609099X. OCLC 10418423.
  2. "Cin Guitars". www.cinguitars.com.