ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การละลาย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kasama (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Kasama (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6: บรรทัด 6:
ในตัวทำละลายแต่ละชนิดจะมีสภาพขั้วของสารชนิดนั้นๆ โดยโมเลกุลที่มีขั้วจะสามารถละลายสารประกอบไอออนิกและสารประกอบโควาเลนต์ที่มีขั้วได้ ส่วนโมเลกุลที่ไม่มีขั้วจะสามารถละลายสารประกอบโควาเลนต์ที่ไม่มีขั้วได้ ตัวอย่างเช่น เกลือแกง เป็นสารประกอบไอออนิก สารมารถละลายในน้ำซึ่งเป็นโมเลกุลมีขั้ว แต่ไม่สามารถละลายในเอทานอลได้ แต่น้ำกับสารที่ไม่มีขั้วจะไม่สามารถรวมกันเป็นเนื้อเดียวกันได้ แต่จะแยกออกเป็นชั้นๆ หรือรวมกันเป็น[[คอลลอยด์]]แบบ[[อิมัลชั่น]]ดังเช่นในน้ำนม
ในตัวทำละลายแต่ละชนิดจะมีสภาพขั้วของสารชนิดนั้นๆ โดยโมเลกุลที่มีขั้วจะสามารถละลายสารประกอบไอออนิกและสารประกอบโควาเลนต์ที่มีขั้วได้ ส่วนโมเลกุลที่ไม่มีขั้วจะสามารถละลายสารประกอบโควาเลนต์ที่ไม่มีขั้วได้ ตัวอย่างเช่น เกลือแกง เป็นสารประกอบไอออนิก สารมารถละลายในน้ำซึ่งเป็นโมเลกุลมีขั้ว แต่ไม่สามารถละลายในเอทานอลได้ แต่น้ำกับสารที่ไม่มีขั้วจะไม่สามารถรวมกันเป็นเนื้อเดียวกันได้ แต่จะแยกออกเป็นชั้นๆ หรือรวมกันเป็น[[คอลลอยด์]]แบบ[[อิมัลชั่น]]ดังเช่นในน้ำนม


ตัวทำละลายที่นิยมใช้กับสารอินทรีย์ ได้แก่ [[อะซีโตน]] [[เอทานอล]] [[น้ำ_(โมเลกุล)|น้ำ]] [[และเบนซีน]]
ตัวทำละลายที่นิยมใช้กับสารอินทรีย์ ได้แก่ [[อะซีโตน]] [[เอทานอล]] [[น้ำ_(โมเลกุล)|น้ำ]]และ [[เบนซีน]]





รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:40, 26 ธันวาคม 2548

เมื่อเกิดการละลายของสารชนิดหนึ่งในของเหลว เราจะเรียกสารผสมนั้นว่า สารละลาย โดยเรียกสารที่ละลายอยู่ในของเหลวนั้นว่าตัวถูกละลาย และเรียกของเหลวนั้นว่าตัวทำละลาย สารละลายที่ไม่สามารถใส่ตัวถูกละลายลงไปเพิ่มได้อีกแล้ว จะเรียกว่า สารละลายอิ่มตัว แต่ในบางสภาพ ตัวถูกละลายนั้นก็อาจละลายในตัวทำละลายชนิดเดียวกันได้มากกว่าปกติจนอิ่มตัว จะเรียกสารละลายที่อิ่มตัวนั้นว่า สารละลายอิ่มตัวยวดยิ่ง

ความสามารถในการละลายของสารชนิดหนึ่งในสารอีกชนิดหนึ่งนั้นสามารถหาได้จากอัตราส่วนระหว่างตัวถูกละลาย กับตัวทำละลาย หรือ อัตราส่วนระหว่างตัวถูกละลาย กับสารละลาย ในสภาวะที่สารละลายนั้นเป็นสารละลายอิ่มตัว ซึ่งสามาถรบอกเป็นความหนาแน่นสูงสุดของสารละลายนั้นได้อีกด้วยซึ่งขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น แรงระหว่างโมเลกุลของตัวทำละลายกับตัวถูกละลาย อุณหภูมิ ความดัน และปัจจัยอื่นๆ


ในตัวทำละลายแต่ละชนิดจะมีสภาพขั้วของสารชนิดนั้นๆ โดยโมเลกุลที่มีขั้วจะสามารถละลายสารประกอบไอออนิกและสารประกอบโควาเลนต์ที่มีขั้วได้ ส่วนโมเลกุลที่ไม่มีขั้วจะสามารถละลายสารประกอบโควาเลนต์ที่ไม่มีขั้วได้ ตัวอย่างเช่น เกลือแกง เป็นสารประกอบไอออนิก สารมารถละลายในน้ำซึ่งเป็นโมเลกุลมีขั้ว แต่ไม่สามารถละลายในเอทานอลได้ แต่น้ำกับสารที่ไม่มีขั้วจะไม่สามารถรวมกันเป็นเนื้อเดียวกันได้ แต่จะแยกออกเป็นชั้นๆ หรือรวมกันเป็นคอลลอยด์แบบอิมัลชั่นดังเช่นในน้ำนม

ตัวทำละลายที่นิยมใช้กับสารอินทรีย์ ได้แก่ อะซีโตน เอทานอล น้ำและ เบนซีน


คนส่วนใหญ่มักคิดว่า สารละลายต้องเกิดจากของแข็งละลายในของเหลวเท่านั้น แต่แท้จริงแล้ว สารละลายสามารถเกิดจากสารได้ทุกสถานะ เช่น น้ำอัดลม เกิดจากแก๊สละลายในของเหลว แก๊สไฮโดรเจน สารมารถละลายในแพลลาเดียมที่เป็นของแข็งได้ หรือเหล็กกล้าปลอดสนิมที่เรียกกันว่า สเตนเลส ก็เกิดจากการผสมกันระหว่างของแข็งหลายชนิดที่เรียกว่า อัลลอยด์


การละลายของสารพันธะต่างๆ ในน้ำ

ชนิดของพันธะ
ความสามารถในการละลายน้ำตัวอย่าง
ไอออนิก ส่วนใหญ่ละลายได้ดูรายละเอียด
ด้านล่าง
โลหะ ไม่ละลายเหล็ก
ทำปฏิกิริยากับน้ำโพแทสเซียม
โมเลกุลโควาเลนต์มีขั้วละลายถ้ามีพันธะไฮโดรเจนกลูโคส
ละลายโดยปฏิกิริยากรดเกลือ
ไม่ละลายอีเทอร์
โมเลกุลโควาเลนต์ไม่มีขั้ว ส่วนใหญ่ไม่ละลายเบนซีน
ละลายได้เล็กน้อยออกซิเจน
โควาเลนต์โครงผลึกร่างตาข่ายไม่ละลายเพชร

การละลายน้ำของสารประกอบไอออนิก

ละลายไม่ละลาย
โลหะแอลคาไลน์ และ สารประกอบ NH4+คาร์บอเนต
ยกเว้นสารประกอบของโลหะแอลคาไลน์ และ สารประกอบ NH4+
สารประกอบไนเตรตสารประกอบซัลไฟต์
(ยกเว้นสารประกอบของโลหะแอลคาไลน์ และ สารประกอบ NH4+)
อะซีเตต (CH3COO-)สารประกอบฟอสเฟต
(ยกเว้นสารประกอบของโลหะแอลคาไลน์ และ สารประกอบ NH4+)
คลอไรด์ โบรไมด์ และ ไอโอไดด์
(ยกเว้น Ag+, Pb2+, Cu+ และ Hg22+)
ไฮดรอกไซด์ และ ออกไซด์
(ยกเว้นสารประกอบของโลหะแอลคาไลน์ สารประกอบ NH4+
Ba2+ Sr2+ และ Ca2+)
ซัลเฟต
(ยกเว้น Ag+, Pb2+, Ba2+, Sr2+ และ Ca2+)
ซัลไฟด์
(ยกเว้นสารประกอบของโลหะแอลคาไลน์ โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท
สารประกอบ NH4+)