ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:Thomson Walt/ทดลองเขียน/3"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thomson Walt (คุย | ส่วนร่วม)
Thomson Walt (คุย | ส่วนร่วม)
 
บรรทัด 185: บรรทัด 185:
| {{abbrlink|DAT|Dopamine transporter}} || 90% ณ 10 μM || ปิดกั้น || <ref name="pmid24947465" />
| {{abbrlink|DAT|Dopamine transporter}} || 90% ณ 10 μM || ปิดกั้น || <ref name="pmid24947465" />
|- class="sortbottom"
|- class="sortbottom"
| colspan="4" style="width: 1px;" | ค่า K<sub>i</sub> (nM) เป็นค่าที่แปรผกผันกับความสามารถในการเข้าจับกับตำแหน่งออกฤทธิ์ของเบรกซ์พิพราโซล กล่าวคือ หากมีค่าน้อย ก็จะบ่งชี้ได้ว่ายาสามารถในการเข้าจับกับตำแหน่งออกฤทธิ์นั้นได้ดี โดยข้อมูลข้างต้นได้มาจากการศึกษาในโปรตีนมนุษย์ที่ได้จาก[[การโคลน]]
| colspan="4" style="width: 1px;" | ค่า K<sub>i</sub> (nM) เป็นค่าที่แปรผกผันกับความสามารถในการเข้าจับกับตำแหน่งออกฤทธิ์ของเบรกซ์พิพราโซล กล่าวคือ หากมีค่าน้อย ก็จะบ่งชี้ได้ว่ายาสามารถในการเข้าจับกับตำแหน่งออกฤทธิ์นั้นได้ดี โดยข้อมูลข้างต้นได้มาจากการศึกษาในโปรตีนมนุษย์ที่ได้จาก[[การโคลน]]
|}
|}
เบรกซ์พิพราโซลออกฤทธิ์เป็น[[ตัวทำการ]]บางส่วน (Partial agonist) ต่อ[[5-HT receptor|ตัวรับเซโรโทนิน]]ชนิด [[5-HT1A receptor|5-HT1A]] (serotonin 5-HT1A receptor) และ[[Dopamine receptor|ตัวรับโดปามีน]]ชนิด [[D2 receptor|D<sub>2</sub>]] และ [[D3 receptor|D<sub>3</sub>]]
เบรกซ์พิพราโซลออกฤทธิ์เป็น[[ตัวทำการ]]บางส่วน (Partial agonist) ต่อ[[5-HT receptor|ตัวรับเซโรโทนิน]]ชนิด [[5-HT1A receptor|5-HT1A]] (serotonin 5-HT1A receptor) และ[[Dopamine receptor|ตัวรับโดปามีน]]ชนิด [[D2 receptor|D<sub>2</sub>]] และ [[D3 receptor|D<sub>3</sub>]] กล่าวคือ ตัวรับเป้าหมายที่ถูกเข้าจับโดยเบรกซ์พิพราโซลจะถูกปิดกั้นและกระตุ้นการแสดงออกไปพร้อมกัน โดยอัตราส่วนของการปิดกั้นต่อการกระตุ้นจะเป็นตัวชี้วัดถึงผลทางคลินิกจากการใช้ยาดังกล่าว


==ประวัติ==
==ประวัติ==

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 20:12, 7 มกราคม 2564

เบรกซ์พิพราโซล[แก้]

Thomson Walt/ทดลองเขียน/3
ข้อมูลทางคลินิก
การอ่านออกเสียง/brɛkˈspɪprəzl/ brek-SPIP--zohl
/rɛkˈsʌlti/ rek-sul-tee
ชื่อทางการค้าRexulti, Rxulti
ชื่ออื่นOPC-34712
AHFS/Drugs.comโมโนกราฟ
MedlinePlusa615046
ข้อมูลทะเบียนยา
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์
  • AU: C [1]
  • US: N (ยังไมได้จำแนก) [1]
ช่องทางการรับยารับประทาน (ยาเม็ด)
รหัส ATC
กฏหมาย
สถานะตามกฏหมาย
[2]
  • AU: S4 (ต้องใช้ใบสั่งยา) [2]
  • US: ℞-only
  • EU: Rx-only
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์
ชีวประสิทธิผล95% (Tmax = 4 ชั่วโมง)[3]
การจับกับโปรตีน>99%
การเปลี่ยนแปลงยาตับ (ผ่านทาง CYP3A4 และ CYP2D6 เป็นส่วนใหญ่)
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ91 ชั่วโมง (เบรกซ์พิพราโซล), 86 ชั่วโมง (สารเมแทบอไลต์)
การขับออกอุจจาระ (46%), ปัสสาวะ (25%)
ตัวบ่งชี้
  • 7-[4-[4-(1-benzothiophen-4-yl)piperazin-1-yl]butoxy]quinolin-2(1H)-one
เลขทะเบียน CAS
PubChem CID
DrugBank
ChemSpider
UNII
KEGG
ChEBI
ChEMBL
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี
สูตรC25H27N3O2S
มวลต่อโมล433.57 g·mol−1
แบบจำลอง 3D (JSmol)
  • O=C5/C=C\c4ccc(OCCCCN3CCN(c1cccc2sccc12)CC3)cc4N5
  • InChI=1S/C25H27N3O2S/c29-25-9-7-19-6-8-20(18-22(19)26-25)30-16-2-1-11-27-12-14-28(15-13-27)23-4-3-5-24-21(23)10-17-31-24/h3-10,17-18H,1-2,11-16H2,(H,26,29)
  • Key:ZKIAIYBUSXZPLP-UHFFFAOYSA-N
สารานุกรมเภสัชกรรม

เบรกซ์พิพราโซล (อังกฤษ: Brexpiprazole) เป็นยาที่จำหน่ายในตลาดยาภายใต้ชื่อการค้า Rexulti จัดเป็นยาระงับอาการทางจิตกลุ่มใหม่ (Atypical antipsychotic drugs; SDA) ซึ่งออกฤทธิ์กระตุ้นตัวรับโดปามีนแล้วเกิดการตอบสนองได้บางส่วน (D2 receptor partial agonist) และยังมีฤทธิ์ช่วยปรับสมดุลการทำงานของสารสือประสาทชนิดเซโรโทนินและโดปามีน (Serotonin–dopamine activity modulator; SDAM) ยานี้ได้รับการรับรองโดยองค์การอาหารและยาของสหรัฐเมื่อวันที่ 10 กรกฏาคม ค.ศ. 2015 โดยกำหนดให้มีข้อบ่งใช้สำหรับรักษาโรคจิตเภท และเป็นยาเสริมสำหรับรักษาโรคซึมเศร้า[4][5] ทั้งนี้ ยานี้ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาและและเพิ่มความทนต่อยาของผู้ป่วย (เช่น เกิดอาการกล้ามเนื้ออยู่ไม่สุข (akathisia), กระวนกระวาย (psychomotor agitation) และ/หรือนอนไม่หลับ ได้น้อยกว่ายาอื่น) ในการรักษาโรคซึมเศร้า (Major depressive disorder; MDD).[6]

เบรกซ์พิพราโซลถูกพัฒนาขึ้นโดยโอซูก้า (Osuka) ซึ่งเป็นบริษัทเคทีภัณฑ์สัญชาติญี่ปุ่น ร่วมกับ ลุนด์เบค (Lundbeck) บริษัทเภสัชกรรมระหว่างประเทศของเดนมาร์ก และถือได้ว่าเป็นผู้สืบทอดของอะริพิพราโซล (ชื่อการค้า: Abilify) ซึ่งเป็นยาระงับอาการทางจิตที่มียอดขายสูงสุดของโอซูก้า[7]

การใช้ประโยชน์ทางการแพทย์[แก้]

เบรกซ์พิพราโซลถูกใช้เป็นยาสำหรับรักษาโรคจิตเภทและเป็นยาเสริมยาหลักในการรักษาโรคซึมเศร้า[5][8]

อาการไม่พึงประสงค์[แก้]

อาการไม่พึงประสงค์ที่พบได้บ่อยจากการใช้เบรกซ์พิพราโซล (ในทุกขนาดยาของเบรกซ์พิพราโซลที่เกิดไม่น้อยกว่า 5% และมากกว่ากลุ่มที่ได้รับยาหลอก) ได้แก่ การติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจส่วนบน (6.9% vs 4.8%) เกิดอาการกล้ามเนื้ออยู่ไม่สุข (6.6% vs 3.2%) น้ำหนักเพิ่ม (6.6% vs 0.8%) เยื่อจมูกและลำคออักเสบ (5.0% vs 1.6%)[9]

การเกิดอันตรกิริยา[แก้]

จากข้อมูลที่ระบุไว้ในใบยินยอมเข้าร่วมการวิจัยของบริษัทผู้พัฒนาเบรกซ์พิพราโซล ดูเหมือนกว่ายาดังกล่าวจะเป็นตัวถูกเปลี่ยนของ CYP2D6 และ CYP3A4 เช่นเดียวกันกับอะริพิพราโซล ดังนั้น ผู้เข้าร่วมการวิจัยจึงล้วนได้รับคำแนะนำให้หลีกเลียงการรับประทานเกรปฟรูต ส้มซ่า และผลไม้ตระกูลส้มบางชนิดอื่นที่เกี่ยวเนื่อง เนื่องจากอาจทำให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ที่รุนแรงจากเบรกซ์พิพราโซลได้

เภสัชวิทยา[แก้]

เภสัชพลศาสตร์[แก้]

เบรกซ์พิพราโซล[10][11]
ตำแหน่งออกฤทธิ์ Ki (nM) กลไก อ้างอิง
5-HT1A 0.12 ทำการบางส่วน [11]
5-HT1B 32 ไม่มีข้อมูล [11]
5-HT2A 0.47 ยับยั้ง [11]
5-HT2B 1.9 ยับยั้ง [11]
5-HT2C 12–34 ทำการบางส่วน [11]
5-HT5A 140 ไม่มีข้อมูล [11]
5-HT6 58 ยับยั้ง [11]
5-HT7 3.7 ยับยั้ง [11]
D1 160 ไม่มีข้อมูล [11]
D2L 0.30 ทำการบางส่วน [11]
D3 1.1 ทำการบางส่วน [11]
D4 6.3 ไม่มีข้อมูล [11]
D5 ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล
α1A 3.8 ยับยั้ง [11]
α1B 0.17 ยับยั้ง [11]
α1D 2.6 ยับยั้ง [11]
α2A 15 ยับยั้ง [11]
α2B 17 ยับยั้ง [11]
α2C 0.59 ยับยั้ง [11]
β1 59 ยับยั้ง [11]
β2 67 ยับยั้ง [11]
β3 >10,000 ไม่มีข้อมูล [11]
H1 19 ยับยั้ง [11]
H2 >10,000 ไม่มีข้อมูล [11]
H3 >10,000 ไม่มีข้อมูล [11]
mACh 52% ณ 10 μM ไม่มีข้อมูล [11]
  M1 67% ณ 10 μM ไม่มีข้อมูล [11]
  M2 >10,000 ไม่มีข้อมูล [11]
σ 96% ณ 10 μM ไม่มีข้อมูล [11]
SERT 65% ณ 10 μM ปิดกั้น [11]
NET 0% ณ 10 μM ปิดกั้น [11]
DAT 90% ณ 10 μM ปิดกั้น [11]
ค่า Ki (nM) เป็นค่าที่แปรผกผันกับความสามารถในการเข้าจับกับตำแหน่งออกฤทธิ์ของเบรกซ์พิพราโซล กล่าวคือ หากมีค่าน้อย ก็จะบ่งชี้ได้ว่ายาสามารถในการเข้าจับกับตำแหน่งออกฤทธิ์นั้นได้ดี โดยข้อมูลข้างต้นได้มาจากการศึกษาในโปรตีนมนุษย์ที่ได้จากการโคลน

เบรกซ์พิพราโซลออกฤทธิ์เป็นตัวทำการบางส่วน (Partial agonist) ต่อตัวรับเซโรโทนินชนิด 5-HT1A (serotonin 5-HT1A receptor) และตัวรับโดปามีนชนิด D2 และ D3 กล่าวคือ ตัวรับเป้าหมายที่ถูกเข้าจับโดยเบรกซ์พิพราโซลจะถูกปิดกั้นและกระตุ้นการแสดงออกไปพร้อมกัน โดยอัตราส่วนของการปิดกั้นต่อการกระตุ้นจะเป็นตัวชี้วัดถึงผลทางคลินิกจากการใช้ยาดังกล่าว

ประวัติ[แก้]

ความร่วมมือระหว่างโอซูก้าและลุนด์เบค[แก้]

การศึกษาทางคลินิก[แก้]

โรคซึมเศร้า[แก้]

  • ระยะที่ 2
  • ระยะที่ 3

ADHD[แก้]

โรคจิตเภท[แก้]

  • ระยะที่ 1
  • ระยะที่ 2
  • ระยะที่ 3

ประเด็นด้านสังคมและวัฒนธรรม[แก้]

สถานะทางกฏหมาย[แก้]

สิทธิบัตร[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "Brexpiprazole (Rexulti) Use During Pregnancy". Drugs.com. 10 February 2020. สืบค้นเมื่อ 18 August 2020.
  2. "Summary for ARTG Entry:273224 Rexulti brexpiprazole 4 mg film coated tablets blisters". Therapeutic Goods Administration (TGA). สืบค้นเมื่อ 18 August 2020.
  3. "REXULTI® (brexpiprazole) Tablets, for Oral Use. Full Prescribing Information" (PDF). Rexulti (brexpiprazole) Patient Site. Otsuka Pharmaceutical Co., Ltd., Tokyo, 101-8535 Japan. สืบค้นเมื่อ 15 July 2015.
  4. "Rexulti (brexpiprazole) Tablets". U.S. Food and Drug Administration (FDA). 10 July 2015. สืบค้นเมื่อ 18 August 2020.
  5. 5.0 5.1 "FDA approves new drug to treat schizophrenia and as an add on to an antidepressant to treat major depressive disorder". U.S. Food and Drug Administration (FDA) Newsroom (Press release). FDA. 2015-07-13. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-07-15. สืบค้นเมื่อ 14 July 2015.
  6. "Otsuka Pharmaceutical Development & Commercialization, Inc". Bloomberg Businessweek. สืบค้นเมื่อ 10 February 2012.
  7. "Otsuka HD places top priority on development of OPC-34712". Chemical Business Newsbase. January 3, 2011. สืบค้นเมื่อ 10 February 2012.
  8. "FDA approves Rexulti (brexpiprazole) as adjunctive treatment for adults with major depressive disorder and as a treatment for adults with schizophrenia". H. Lundbeck A/S (Press release). 11 July 2015. สืบค้นเมื่อ 18 August 2020.
  9. "Otsuka Pharmaceutical reports OPC-34712 Phase 2 trial results in major depressive disorder". News-Medical.Net. 2011-05-16. สืบค้นเมื่อ 10 February 2012.
  10. Roth, BL; Driscol, J. "PDSP Ki Database". Psychoactive Drug Screening Program (PDSP). University of North Carolina at Chapel Hill and the United States National Institute of Mental Health. สืบค้นเมื่อ 14 August 2017.
  11. 11.00 11.01 11.02 11.03 11.04 11.05 11.06 11.07 11.08 11.09 11.10 11.11 11.12 11.13 11.14 11.15 11.16 11.17 11.18 11.19 11.20 11.21 11.22 11.23 11.24 11.25 11.26 11.27 11.28 11.29 11.30 11.31 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ pmid24947465
  12. "Canadian Patents Database 2620688". สืบค้นเมื่อ 16 February 2012.