ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มีเดีย ออฟ มีเดียส์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ปรับปรุงเนื้อหาครั้งใหญ่
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
| num_employees =
| num_employees =
| homepage = {{URL|http://web.archive.org/web/20071126094528/http://www.medias.co.th:80/|http://www.medias.co.th}}
| homepage = {{URL|http://web.archive.org/web/20071126094528/http://www.medias.co.th:80/|http://www.medias.co.th}}
}}{{แยก|มีเดีย สตูดิโอ}}{{กล่องข้อมูล บริษัท
}}

{{กล่องข้อมูล บริษัท
| company_name = บริษัท มีเดีย สตูดิโอ จำกัด<br>(Media Studio Company Limited)
| company_name = บริษัท มีเดีย สตูดิโอ จำกัด<br>(Media Studio Company Limited)
| company_logo = Media-Studio_lager.png
| company_logo = Media-Studio_lager.png
บรรทัด 31: บรรทัด 29:
}}
}}


'''บริษัท มีเดีย ออฟ มีเดียส์ จำกัด (มหาชน)''' หรือในสายธุรกิจด้านการผลิตรายการโทรทัศน์ในปัจจุบันคือ '''บริษัท มีเดีย สตูดิโอ จำกัด''' เป็นบริษัทผู้ผลิตรายการโทรทัศน์, สื่อบันเทิง, สื่อสิ่งพิมพ์ และโทรทัศน์ดาวเทียมในประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อ 22 เมษายน พ.ศ. 2527 โดยเริ่มจากการเป็นตัวแทนบริหารการจำหน่ายเวลาโฆษณาให้กับรายการโทรทัศน์ต่าง ๆ จวบจนปี พ.ศ. 2532 ทางบริษัทฯ ได้ริเริ่มขยายขอบเขตทางธุรกิจยิ่งขึ้น โดยซื้อเวลาจากสถานีโทรทัศน์ต่าง ๆ เพื่อดำเนินการผลิตรายการ และจำหน่ายเวลาโฆษณารายการควบคู่กัน<ref name="มีเดียออฟมีเดียส์">{{cite web |url=http://web.archive.org/web/20071111133000/http://www.medias.co.th:80/investor.php# |title=ข้อมูลองค์กร (1) |author=มีเดีย ออฟ มีเดียส์ |website=Medias.co.th |accessdate=28 เมษายน 2561}}</ref> แต่ในปัจจุบัน ทางบริษัทฯ เปลี่ยนแปลงการดำเนินธุรกิจเป็นด้านอสังหาริมทรัพย์ โดยเปลี่ยนชื่อเป็น '''[[แกรนด์ คาแนล แลนด์|บริษัท แกรนด์ คาแนล แลนด์ จำกัด (มหาชน)]]'''<ref name="แกรนด์คาแนลแลนด์">{{cite web |url=http://www.grandcanalland.com/about.php |title=ABOUT US |author=แกรนด์ คาแนล แลนด์ |website=Grandcanalland.com |accessdate=28 เมษายน 2561}}</ref> (ปัจจุบัน แกรนด์ คาแนล แลนด์ กลายเป็นบริษัทลูกในเครือ[[เซ็นทรัลพัฒนา]]) ทั้งนี้ ในส่วนการดำเนินธุรกิจในด้านผลิตรายการโทรทัศน์ได้โอนสิทธิ์ให้กับทางบริษัทย่อย นั่นคือ '''บริษัท มีเดีย สตูดิโอ จำกัด''' โดยมี [[นุติ เขมะโยธิน]] ทำหน้าที่เป็นกรรมการผู้จัดการ แต่ในปัจจุบันได้เปลี่ยนผู้บริหารเป็น [[เยาวลักษณ์ พูลทอง|ดร.เยาวลักษณ์ พูลทอง]] ทำหน้าที่เป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ร่วมกับ [[สุภาพรรณ วิสฤตาภา]] ทำหน้าที่เป็นกรรมการผู้จัดการบริษัท และ [[พิไลวรรณ บุญล้น]] ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการฝ่ายรายการและละคร รวมทั้งบริหารงานการดำเนินงานในด้านการผลิตรายการโทรทัศน์จนถึงปัจจุบัน<ref name="มีเดียสตูดิโอ">{{cite web |url=https://archive.is/v2lS |title=มีเดีย ออฟ มีเดียส์..วันที่ไร้เงา 'ชาลอต โทณวณิก' |author=กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ |date=13 มกราคม 2553 |website=Bangkokbiznews.com |accessdate=28 เมษายน 2561}}</ref>
'''บริษัท มีเดีย ออฟ มีเดียส์ จำกัด (มหาชน)''' หรือในสายธุรกิจโทรทัศน์ในปัจจุบันคือ '''บริษัท มีเดีย สตูดิโอ จำกัด''' เป็นบริษัทผลิต[[รายการโทรทัศน์]] [[สื่อบันเทิง]] [[สื่อสิ่งพิมพ์]] และ[[โทรทัศน์ผ่านดาวเทียม]]ในประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อ 22 เมษายน พ.ศ. 2527 โดยเริ่มจากการเป็นตัวแทนบริหารการจำหน่ายเวลาโฆษณาให้กับรายการโทรทัศน์ต่าง ๆ จวบจนปี พ.ศ. 2532 ทางบริษัทฯ ได้ริเริ่มขยายขอบเขตทางธุรกิจยิ่งขึ้น โดยซื้อเวลาจากสถานีโทรทัศน์ต่าง ๆ เพื่อผลิตรายการและจำหน่ายเวลาโฆษณารายการควบคู่กัน<ref name="มีเดียออฟมีเดียส์">{{cite web |url=http://web.archive.org/web/20071111133000/http://www.medias.co.th:80/investor.php# |title=ข้อมูลองค์กร (1) |author=มีเดีย ออฟ มีเดียส์ |website=Medias.co.th |accessdate=28 เมษายน 2561}}</ref> แต่ในปัจจุบัน ทางบริษัทฯ เปลี่ยนแปลงการดำเนินธุรกิจเป็นด้านอสังหาริมทรัพย์ โดยเปลี่ยนชื่อเป็น [[แกรนด์ คาแนล แลนด์|บริษัท แกรนด์ คาแนล แลนด์ จำกัด (มหาชน)]]<ref name="แกรนด์คาแนลแลนด์">{{cite web |url=http://www.grandcanalland.com/about.php |title=ABOUT US |author=แกรนด์ คาแนล แลนด์ |website=Grandcanalland.com |accessdate=28 เมษายน 2561}}</ref> (ปัจจุบันกลายเป็นบริษัทลูกในเครือ[[เซ็นทรัลพัฒนา]]) ในส่วนธุรกิจโทรทัศน์ได้โอนสิทธิ์ให้กับทางบริษัทย่อยคือ '''บริษัท มีเดีย สตูดิโอ จำกัด''' โดยมี [[นุติ เขมะโยธิน]] ทำหน้าที่เป็นกรรมการผู้จัดการ แต่ในปัจจุบันได้เปลี่ยนผู้บริหารเป็น [[เยาวลักษณ์ พูลทอง|ดร.เยาวลักษณ์ พูลทอง]] ทำหน้าที่เป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ร่วมกับ [[สุภาพรรณ วิสฤตาภา]] ทำหน้าที่เป็นกรรมการผู้จัดการบริษัท และ [[พิไลวรรณ บุญล้น]] ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการฝ่ายรายการและละคร รวมทั้งบริหารงานการดำเนินงานในด้านการผลิตรายการโทรทัศน์จนถึงปัจจุบัน<ref name="มีเดียสตูดิโอ">{{cite web |url=https://archive.is/v2lS |title=มีเดีย ออฟ มีเดียส์..วันที่ไร้เงา 'ชาลอต โทณวณิก' |author=กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ |date=13 มกราคม 2553 |website=Bangkokbiznews.com |accessdate=28 เมษายน 2561}}</ref>


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
บริษัท มีเดีย ออฟ มีเดียส์ จำกัด (เดิม บริษัท มีเดีย เอ็นเตอร์เทนเมนต์ จำกัด) เริ่มก่อตั้งเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2527 ด้วยทุนจดทะเบียน 200,000 บาท โดยมี [[ยุวดี บุญครอง]] เป็นประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร มีวัตถุประสงค์เพื่อดำเนินการธุรกิจเป็นตัวแทนรับขายเวลาโฆษณาในรายการต่าง ๆ ทางโทรทัศน์เรื่อยมาจนถึงปี พ.ศ. 2532 ทางบริษัทฯ เริ่มซื้อเวลาจากทางสถานีเข้าดำเนินการผลิตรายการและขายโฆษณาเอง โดยเริ่มจากการนำภาพยนตร์ต่างประเทศที่มีคุณภาพเข้ามาออกอากาศในรายการ "[[แผ่นฟิล์มวันศุกร์]]" ทาง[[ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี|สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท.]] โดยนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 เป็นต้นมา บริษัทฯ จึงได้ก้าวเข้าสู่เป็นผู้ผลิตรายการอย่างเต็มรูปแบบด้วยการผลิตรายการโทรทัศน์เอง โดยเริ่มจากรายการ "เด็ดยอดกีฬามันส์" และรายการ "เจาะโลกมหัศจรรย์" ต่อมาในปี พ.ศ. 2535 บริษัทฯ ได้กลายเป็นผู้บุกเบิกรายการโทรทัศน์ในภาคเช้า ของ[[สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก|สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5]] คือรายการ "[[บ้านเลขที่ 5]]" ซึ่งประสบความสำเร็จจนกลายเป็นต้นแบบของรายการภาคเช้า และได้รับความนิยมจากผู้ชมเป็นอย่างสูงอีกด้วย
บริษัท มีเดีย ออฟ มีเดียส์ จำกัด (เดิม บริษัท มีเดีย เอ็นเตอร์เทนเมนต์ จำกัด) เริ่มก่อตั้งเมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2527 ด้วยทุนจดทะเบียน 200,000 บาท โดยมี [[ยุวดี บุญครอง]] เป็นประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นตัวแทนรับขายเวลาโฆษณาในรายการต่าง ๆ ทางโทรทัศน์เรื่อยมา จนในปี พ.ศ. 2532 บริษัทฯ เริ่มซื้อเวลาจากทางสถานีเข้าดำเนินการผลิตรายการและขายโฆษณาเอง โดยเริ่มจากการนำภาพยนตร์ต่างประเทศที่มีคุณภาพเข้ามาออกอากาศในรายการ [[แผ่นฟิล์มวันศุกร์]] ทาง[[เอ็มคอตเอชดี|สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท.]] ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 เป็นต้นมา บริษัทฯ จึงก้าวเข้าสู่เป็นผู้ผลิตรายการอย่างเต็มรูปแบบด้วยการผลิตรายการโทรทัศน์เอง โดยเริ่มจากรายการเด็ดยอดกีฬามันส์ และรายการเจาะโลกมหัศจรรย์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2535 บริษัทฯ ได้กลายเป็นผู้บุกเบิก[[รายการภาคเช้า]] จากการผลิตรายการ [[บ้านเลขที่ 5]] ทาง[[สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก|สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5]] ซึ่งประสบความสำเร็จจนกลายเป็นต้นแบบของรายการภาคเช้า และได้รับความนิยมจากผู้ชมเป็นอย่างสูงอีกด้วย


ทางบริษัทฯ มีการเพิ่มทุนจดทะเบียนเป็นระยะ เพื่อรองรับการขยายตัวทางธุรกิจและได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ[[ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย]] ให้เป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนตั้งแต่วันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539 เป็นต้นไป โดยแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชน ภายใต้ชื่อ '''"บริษัท มีเดีย ออฟ มีเดียส์ จำกัด (มหาชน)"''' พร้อมทุนจดทะเบียน 260 ล้านบาท โดยประกอบธุรกิจหลักประเภทจำหน่ายเวลาโฆษณาทางโทรทัศน์ และผลิตรายการโทรทัศน์รูปแบบต่าง ๆ ซึ่งในช่วงนั้น รายการโทรทัศน์ที่ผลิตโดยบริษัทฯ ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากผู้ชมทุกเพศทุกวัย ยุคที่รุ่งเรืองที่สุดของบริษัทฯ คือช่วงปี พ.ศ. 2535 – พ.ศ. 2540 โดยเป็นบริษัทที่มีเวลาออกอากาศทางสถานีฟรีทีวีมากที่สุดต่อสัปดาห์ในช่วงนั้น
บริษัทฯ มีการเพิ่มทุนจดทะเบียนเป็นระยะ เพื่อรองรับการขยายตัวทางธุรกิจ และ[[ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย]]อนุมัติให้จดทะเบียนตั้งแต่วันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539 เป็นต้นไป จึงแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชน ภายใต้ชื่อ '''"บริษัท มีเดีย ออฟ มีเดียส์ จำกัด (มหาชน)"''' พร้อมทุนจดทะเบียน 260 ล้านบาท โดยประกอบธุรกิจจำหน่ายเวลาโฆษณาและผลิตรายการโทรทัศน์ ซึ่งในช่วงนั้นรายการโทรทัศน์ที่ผลิตโดยบริษัทฯ ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากผู้ชมทุกเพศทุกวัย ยุคที่รุ่งเรืองที่สุดของบริษัทฯ คือช่วงปี พ.ศ. 2535 – พ.ศ. 2540 โดยเป็นบริษัทที่มีเวลาออกอากาศทางสถานีฟรีทีวีมากที่สุดต่อสัปดาห์ในช่วงนั้น


ต่อมา เมื่อมีการเข้าร่วมทุนของ[[บริษัท กรุงเทพโทรทัศน์และวิทยุ จำกัด]] เปิดโอกาสให้บริษัทมีเวลาเช่าออกอากาศจาก[[สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7]] มากขึ้น ซึ่งมีผลอย่างมากต่อการเพิ่มขึ้นของรายได้ของบริษัทฯ นอกจากนี้ยังช่วยสร้างความแข็งแกร่งให้กับธุรกิจ ซึ่งบริษัทฯ ไม่มีความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องและความสามารถในการดำรงอยู่ของบริษัทอีกต่อไป แต่บริษัทฯ ยังมีความเสี่ยงในเรื่องการต่อสัญญาเช่าโดยช่วงครึ่งหลังของปี พ.ศ. 2547 เป็นต้นมา รายการของทางบริษัทฯ 3 รายการ ไม่ได้รับการต่อสัญญาเช่าเวลาจากสถานีโทรทัศน์ ทำให้มีผลกระทบต่อรายได้โฆษณาของบริษัทฯ เป็นอย่างสูง ดังนั้นในปี พ.ศ. 2548 ทางบริษัทฯ จึงได้ขยายธุรกิจสื่อให้ครอบคลุมสื่อ[[วีซีดี]], [[สิ่งพิมพ์เผยแพร่|สื่อสิ่งพิมพ์]] และสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม เพื่อขยายฐานรายได้<ref name="มีเดียออฟมีเดียส์"></ref>
ต่อมา เมื่อมีการเข้าร่วมทุนของ[[บริษัท กรุงเทพโทรทัศน์และวิทยุ จำกัด]] เปิดโอกาสให้บริษัทมีเวลาเช่าออกอากาศจาก[[ช่อง 7 เอชดี|สถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7]] มากขึ้น ซึ่งมีผลอย่างมากต่อการเพิ่มขึ้นของรายได้ของบริษัทฯ นอกจากนี้ยังช่วยสร้างความแข็งแกร่งให้กับธุรกิจ ซึ่งบริษัทฯ ไม่มีความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องและความสามารถในการดำรงอยู่ของบริษัทอีกต่อไป แต่บริษัทฯ ยังมีความเสี่ยงในเรื่องการต่อสัญญาเช่า โดยครึ่งหลังของปี พ.ศ. 2547 เป็นต้นมา รายการของบริษัทฯ 3 รายการ ไม่ได้รับการต่อสัญญาเช่าเวลาจากสถานีโทรทัศน์ ทำให้มีผลกระทบต่อรายได้โฆษณาของบริษัทฯ เป็นอย่างสูง ดังนั้นในปี พ.ศ. 2548 ทางบริษัทฯ จึงได้ขยายธุรกิจสื่อให้ครอบคลุมสื่อ[[วีซีดี]], [[สิ่งพิมพ์เผยแพร่|สื่อสิ่งพิมพ์]] และสถานี[[โทรทัศน์ผ่านดาวเทียม]] เพื่อขยายฐานรายได้<ref name="มีเดียออฟมีเดียส์"></ref>


ในปี พ.ศ. 2549 ทางบริษัทฯ ได้ทำการปรับโครงสร้างการบริหารงาน โดยกลุ่มผู้บริหารระดับสูงชุดใหม่ นำโดย [[ชาลอต โทณวณิก]] ในตำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และ ธงชัย ชั้นเสวิกุล ในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ เข้ามาบริหารเพื่อกำหนดกลยุทธ์และสร้างผลประกอบการที่ดียิ่งขึ้น โดยพยายามลดต้นทุนการผลิตในทุกด้าน รวมทั้งเน้นการผลิตรายการโทรทัศน์ให้กับสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เป็นหลัก<ref name="ชาลอต">{{cite web |url=http://web.archive.org/web/20120217010033/http://www.medias.co.th/investor.php# |title=ข้อมูลองค์กร (2) |author=มีเดีย ออฟ มีเดียส์ |website=Medias.co.th |accessdate=28 เมษายน 2561}}</ref> จนทำให้บางรายการของบริษัทฯ ที่กำลังออกอากาศในสถานีโทรทัศน์ช่องอื่น ๆ ในขณะนั้น ต้องถูกดูแลโดยบริษัทที่ยุวดีได้ตั้งขึ้นมาใหม่ นั่นคือ '''[[บริษัท เอเชีย เทเลวิชัน แอนด์ มีเดีย จำกัด]]'''
ในปี พ.ศ. 2549 ทางบริษัทฯ ได้ปรับโครงสร้างการบริหารงาน โดยกลุ่มผู้บริหารระดับสูงชุดใหม่ นำโดย [[ชาลอต โทณวณิก]] ในตำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และ ธงชัย ชั้นเสวิกุล ในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ เข้ามาบริหารเพื่อกำหนดกลยุทธ์และสร้างผลประกอบการที่ดียิ่งขึ้น โดยพยายามลดต้นทุนการผลิตทุกด้าน รวมทั้งเน้นการผลิตรายการโทรทัศน์ให้กับสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เป็นหลัก<ref name="ชาลอต">{{cite web |url=http://web.archive.org/web/20120217010033/http://www.medias.co.th/investor.php# |title=ข้อมูลองค์กร (2) |author=มีเดีย ออฟ มีเดียส์ |website=Medias.co.th |accessdate=28 เมษายน 2561}}</ref> จนทำให้บางรายการของบริษัทฯ ที่กำลังออกอากาศในสถานีโทรทัศน์ช่องอื่น ๆ ในขณะนั้น ต้องถูกดูแลโดยบริษัทที่ยุวดีได้ตั้งขึ้นมาใหม่ นั่นคือ [[บริษัท เอเชีย เทเลวิชัน แอนด์ มีเดีย จำกัด]]


ทั้งนี้ ในปลายปี พ.ศ. 2552 ทางบริษัทฯ ได้โอนขายทรัพย์สินที่ใช้ในการดำเนินธุรกิจสื่อทั้งหมดของบริษัทให้แก่ บริษัท มีเดีย สตูดิโอ จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่มีวัตถุประสงค์ที่จะดำเนินการด้านธุรกิจสตูดิโอ โดยได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในกลุ่มธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ โดยมี โยธิน บุญดีเจริญ เข้ามารับช่วงกิจการต่อ ส่วนชาลอต เป็นประธานบริษัท มีเดีย สตูดิโอ จำกัด เพื่อผลิตรายการโทรทัศน์และสื่อต่าง ๆ จากบริษัทเดิมต่อไป โดยมีสถานีโทรทัศน์ดาวเทียมของตนเองภายใต้ชื่อ "[[ที แชนแนล]]", "[[มีเดีย แชนแนล]]", "[[ยู แคมปัส แชนแนล]]" และ "[[มีเดีย บูม]]" อีกด้วย<ref name="ทีแชนแนล">{{cite web |url=https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=2883 |title=มีเดีย ออฟ มีเดียส์ ทุ่ม 100 ล้านขยายธุรกิจ ประกาศลุยโทรทัศน์ดาวเทียม |author=ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ |date=30 เมษายน 2551 |website=Prachachat.net |accessdate=28 เมษายน 2561}}</ref> แต่ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2550 ทางบริษัทฯ ได้ยกเลิกการทำสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม '''ที แชนแนล''' เนื่องจากผลประกอบการที่ผ่านมาไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ และเปลี่ยนมาดำเนินการในรูปแบบการรับจ้างผลิตรายการช่องสถานีลูกทุ่งให้กับ[[บริษัท ทรู วิชั่นส์ จำกัด (มหาชน)]] และ[[บริษัท ทรู วิชั่นส์ เคเบิล จำกัด (มหาชน)]] โดยยังคงรูปแบบรายการเหมือนสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมเดิม จนส่งผลกระทบให้ในวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2553 ชาลอตได้ตัดสินใจลาออกจากตำแหน่งประธานบริษัท มีเดีย สตูดิโอ จำกัด และเปลี่ยนชื่อของ'''บริษัท มีเดีย ออฟ มีเดียส์ จำกัด (มหาชน)''' เป็น '''บริษัท แกรนด์ คาแนล แลนด์ จำกัด (มหาชน)''' ซึ่งเปลี่ยนแปลงรูปแบบการดำเนินธุรกิจเป็นธุรกิจด้านอสังหาริมทรัพย์แทน โดยได้โอนสิทธิ์ในการดำเนินธุรกิจในด้านผลิตรายการโทรทัศน์ทั้งหมดจากบริษัทฯ ให้กับทางบริษัทย่อย นั่นคือ '''[[บริษัท มีเดีย สตูดิโอ จำกัด]]''' และยังคงดำเนินธุรกิจด้านสื่อและการผลิตรายการโทรทัศน์มาโดยตลอดจนถึงปัจจุบัน<ref name="มีเดียสตูดิโอ"></ref>
ทั้งนี้ ในปลายปี พ.ศ. 2552 ทางบริษัทฯ ได้โอนขายทรัพย์สินในการดำเนินธุรกิจสื่อทั้งหมดให้แก่ '''[[มีเดีย สตูดิโอ|บริษัท มีเดีย สตูดิโอ จำกัด]]''' ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่มีวัตถุประสงค์ที่จะดำเนินการด้านธุรกิจสตูดิโอ โดยได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในกลุ่มอสังหาริมทรัพย์ โดยมี โยธิน บุญดีเจริญ เข้ามารับช่วงกิจการต่อ ส่วนมีเดีย สตูดิโอ มีชาลอตเป็นประธานบริษัท เพื่อผลิตรายการโทรทัศน์และสื่อต่าง ๆ จากบริษัทเดิมต่อไป โดยมีสถานีโทรทัศน์ดาวเทียมของตนเองภายใต้ชื่อ [[ที แชนแนล]], [[มีเดีย แชนแนล]], [[ยู แคมปัส แชนแนล]] และ [[มีเดีย บูม]] อีกด้วย<ref name="ทีแชนแนล">{{cite web |url=https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=2883 |title=มีเดีย ออฟ มีเดียส์ ทุ่ม 100 ล้านขยายธุรกิจ ประกาศลุยโทรทัศน์ดาวเทียม |author=ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ |date=30 เมษายน 2551 |website=Prachachat.net |accessdate=28 เมษายน 2561}}</ref> แต่ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2550 ทางบริษัทฯ ได้ยกเลิกสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมที แชนแนล เนื่องจากผลประกอบการที่ผ่านมาไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ และเปลี่ยนมาดำเนินการในรูปแบบการรับจ้างผลิตรายการช่องสถานีลูกทุ่งให้กับ[[ทรูวิชั่นส์]] โดยยังคงรูปแบบรายการเหมือนสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมเดิม ส่งผลให้ในวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2553 ชาลอตได้ลาออกจากตำแหน่งประธานของมีเดีย สตูดิโอ และเปลี่ยนชื่อบริษัท มีเดีย ออฟ มีเดียส์ เป็น '''บริษัท แกรนด์ คาแนล แลนด์ จำกัด (มหาชน)''' และเปลี่ยนแปลงรูปแบบการดำเนินธุรกิจเป็นทางอสังหาริมทรัพย์แทน โดยได้โอนสิทธิ์ในการดำเนินธุรกิจในด้านผลิตรายการโทรทัศน์ทั้งหมดจากบริษัทฯ ให้กับบริษัทย่อย คือ มีเดีย สตูดิโอ และยังคงดำเนินธุรกิจด้านสื่อและการผลิตรายการโทรทัศน์มาโดยตลอดจนถึงปัจจุบัน<ref name="มีเดียสตูดิโอ"></ref>
{{โครง-ส่วน}}
{{โครง-ส่วน}}


บรรทัด 49: บรรทัด 47:


== ผลงาน ==
== ผลงาน ==
ปัจจุบัน มีเดีย สตูดิโอ (หรือในชื่อเดิมคือ มีเดีย ออฟ มีเดียส์) มีรายการโทรทัศน์ที่กำลังออกอากาศอยู่ 5 รายการ เป็นรายการประเภทเกมโชว์, วาไรตี้โชว์ และรายการข่าว ซึ่งออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 ทั้งหมด ทั้งนี้ รายการโทรทัศน์ที่กำลังจะออกอากาศในอนาคตเน้น ''"ตัวเอน"'' และรายการโทรทัศน์ที่กำลังออกอากาศอยู่ในปัจจุบันเน้น '''"ตัวหนา"'''
ปัจจุบัน มีเดีย สตูดิโอ (หรือในชื่อเดิมคือ มีเดีย ออฟ มีเดียส์) มีรายการโทรทัศน์ที่กำลังออกอากาศอยู่ 5 รายการ เป็นรายการประเภทเกมโชว์, วาไรตี้โชว์ และรายการข่าว ซึ่งออกอากาศทาง[[ช่อง 7 เอชดี]] ทั้งหมด ทั้งนี้ รายการโทรทัศน์ที่กำลังจะออกอากาศในอนาคตเน้น ''"ตัวเอน"'' และรายการโทรทัศน์ที่กำลังออกอากาศอยู่ในปัจจุบันเน้น '''"ตัวหนา"'''
{{โครง-ส่วน}}
{{โครง-ส่วน}}


บรรทัด 158: บรรทัด 156:


==== ข่าว ====
==== ข่าว ====
* [[สนามข่าว 7 สี|เช้าส่งข่าวถึงบ้าน 7 สี]] (ประมาณปี พ.ศ. 2549) ช่อง 7
* [[สนามข่าว 7 สี|เช้าข่าว 7 สี]] (ประมาณปี พ.ศ. 2549) ช่อง 7
* [[เจาะเกาะติด]] (พ.ศ. 2551 – พ.ศ. 2558) ช่อง 7
* [[เจาะเกาะติด]] (พ.ศ. 2551 – พ.ศ. 2558) ช่อง 7
* '''[[ประเด็นเด็ด 7 สี]] (พ.ศ. 2552 – ปัจจุบัน) ช่อง 7'''
* '''[[ประเด็นเด็ด 7 สี]] (พ.ศ. 2552 – ปัจจุบัน) ช่อง 7'''

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:27, 14 พฤศจิกายน 2563

บริษัท มีเดีย ออฟ มีเดียส์ จำกัด (มหาชน)
(Media of Medias Public Company Limited)
ประเภทบริษัทมหาชน
อุตสาหกรรมอดีต
จำหน่ายเวลาโฆษณาทางโทรทัศน์, สื่อบันเทิง, ผลิตรายการโทรทัศน์และละครโทรทัศน์, วีซีดี, สื่อสิ่งพิมพ์ และสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม
ปัจจุบัน
อสังหาริมทรัพย์
ก่อตั้ง22 เมษายน พ.ศ. 2527 (40 ปี)
เลิกกิจการ2552
สำนักงานใหญ่2991/29-30 ถนนลาดพร้าว แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240
บุคลากรหลัก
ยุวดี บุญครอง (พ.ศ. 2528 – พ.ศ. 2549)
โฆษิต สุวินิจจิต (พ.ศ. 2535 – พ.ศ. 2549)
ชาลอต โทณะวณิก (พ.ศ. 2549 – พ.ศ. 2552)
ผลิตภัณฑ์อดีต
รายการ ที่นี่ประเทศไทย, ลุ้นข้ามโลก และ บ้านเลขที่ 5
สถานีโทรทัศน์ดาวเทียม ที แชนแนล และ มีเดีย แชนแนล
ปัจจุบัน
อสังหาริมทรัพย์
เว็บไซต์http://www.medias.co.th
บริษัท มีเดีย สตูดิโอ จำกัด
(Media Studio Company Limited)
ประเภทบริษัทจำกัด
อุตสาหกรรมอดีต
เช่าสถานที่รวมทั้งอุปกรณ์สำหรับการผลิตรายการโทรทัศน์ และสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม
ปัจจุบัน
ผลิตรายการโทรทัศน์และละครโทรทัศน์
ก่อตั้งพ.ศ. 2552 (อายุ 15 ปี)
สำนักงานใหญ่998/3 ชั้น 1-4 ถนนพหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
บุคลากรหลัก
อดีต
ชาลอต โทณะวณิก
นุติ เขมะโยธิน
ปัจจุบัน
ดร.เยาวลักษณ์ พูลทอง
พิไลวรรณ บุญล้น
สุภาพรรณ วิสฤตาภา
ผลิตภัณฑ์รายการ เช้านี้...ที่หมอชิต , เจาะประเด็นข่าวค่ำ และ ประเด็นเด็ด 7 สี
เว็บไซต์www.mediastudio.co.th

บริษัท มีเดีย ออฟ มีเดียส์ จำกัด (มหาชน) หรือในสายธุรกิจโทรทัศน์ในปัจจุบันคือ บริษัท มีเดีย สตูดิโอ จำกัด เป็นบริษัทผลิตรายการโทรทัศน์ สื่อบันเทิง สื่อสิ่งพิมพ์ และโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมในประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อ 22 เมษายน พ.ศ. 2527 โดยเริ่มจากการเป็นตัวแทนบริหารการจำหน่ายเวลาโฆษณาให้กับรายการโทรทัศน์ต่าง ๆ จวบจนปี พ.ศ. 2532 ทางบริษัทฯ ได้ริเริ่มขยายขอบเขตทางธุรกิจยิ่งขึ้น โดยซื้อเวลาจากสถานีโทรทัศน์ต่าง ๆ เพื่อผลิตรายการและจำหน่ายเวลาโฆษณารายการควบคู่กัน[1] แต่ในปัจจุบัน ทางบริษัทฯ เปลี่ยนแปลงการดำเนินธุรกิจเป็นด้านอสังหาริมทรัพย์ โดยเปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท แกรนด์ คาแนล แลนด์ จำกัด (มหาชน)[2] (ปัจจุบันกลายเป็นบริษัทลูกในเครือเซ็นทรัลพัฒนา) ในส่วนธุรกิจโทรทัศน์ได้โอนสิทธิ์ให้กับทางบริษัทย่อยคือ บริษัท มีเดีย สตูดิโอ จำกัด โดยมี นุติ เขมะโยธิน ทำหน้าที่เป็นกรรมการผู้จัดการ แต่ในปัจจุบันได้เปลี่ยนผู้บริหารเป็น ดร.เยาวลักษณ์ พูลทอง ทำหน้าที่เป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ร่วมกับ สุภาพรรณ วิสฤตาภา ทำหน้าที่เป็นกรรมการผู้จัดการบริษัท และ พิไลวรรณ บุญล้น ผู้ช่วยกรรมการผู้อำนวยการฝ่ายรายการและละคร รวมทั้งบริหารงานการดำเนินงานในด้านการผลิตรายการโทรทัศน์จนถึงปัจจุบัน[3]

ประวัติ

บริษัท มีเดีย ออฟ มีเดียส์ จำกัด (เดิม บริษัท มีเดีย เอ็นเตอร์เทนเมนต์ จำกัด) เริ่มก่อตั้งเมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2527 ด้วยทุนจดทะเบียน 200,000 บาท โดยมี ยุวดี บุญครอง เป็นประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นตัวแทนรับขายเวลาโฆษณาในรายการต่าง ๆ ทางโทรทัศน์เรื่อยมา จนในปี พ.ศ. 2532 บริษัทฯ เริ่มซื้อเวลาจากทางสถานีเข้าดำเนินการผลิตรายการและขายโฆษณาเอง โดยเริ่มจากการนำภาพยนตร์ต่างประเทศที่มีคุณภาพเข้ามาออกอากาศในรายการ แผ่นฟิล์มวันศุกร์ ทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 อ.ส.ม.ท. ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 เป็นต้นมา บริษัทฯ จึงก้าวเข้าสู่เป็นผู้ผลิตรายการอย่างเต็มรูปแบบด้วยการผลิตรายการโทรทัศน์เอง โดยเริ่มจากรายการเด็ดยอดกีฬามันส์ และรายการเจาะโลกมหัศจรรย์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2535 บริษัทฯ ได้กลายเป็นผู้บุกเบิกรายการภาคเช้า จากการผลิตรายการ บ้านเลขที่ 5 ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ซึ่งประสบความสำเร็จจนกลายเป็นต้นแบบของรายการภาคเช้า และได้รับความนิยมจากผู้ชมเป็นอย่างสูงอีกด้วย

บริษัทฯ มีการเพิ่มทุนจดทะเบียนเป็นระยะ ๆ เพื่อรองรับการขยายตัวทางธุรกิจ และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยอนุมัติให้จดทะเบียนตั้งแต่วันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539 เป็นต้นไป จึงแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชน ภายใต้ชื่อ "บริษัท มีเดีย ออฟ มีเดียส์ จำกัด (มหาชน)" พร้อมทุนจดทะเบียน 260 ล้านบาท โดยประกอบธุรกิจจำหน่ายเวลาโฆษณาและผลิตรายการโทรทัศน์ ซึ่งในช่วงนั้นรายการโทรทัศน์ที่ผลิตโดยบริษัทฯ ได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากผู้ชมทุกเพศทุกวัย ยุคที่รุ่งเรืองที่สุดของบริษัทฯ คือช่วงปี พ.ศ. 2535 – พ.ศ. 2540 โดยเป็นบริษัทที่มีเวลาออกอากาศทางสถานีฟรีทีวีมากที่สุดต่อสัปดาห์ในช่วงนั้น

ต่อมา เมื่อมีการเข้าร่วมทุนของบริษัท กรุงเทพโทรทัศน์และวิทยุ จำกัด เปิดโอกาสให้บริษัทมีเวลาเช่าออกอากาศจากสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 มากขึ้น ซึ่งมีผลอย่างมากต่อการเพิ่มขึ้นของรายได้ของบริษัทฯ นอกจากนี้ยังช่วยสร้างความแข็งแกร่งให้กับธุรกิจ ซึ่งบริษัทฯ ไม่มีความเสี่ยงจากการขาดสภาพคล่องและความสามารถในการดำรงอยู่ของบริษัทอีกต่อไป แต่บริษัทฯ ยังมีความเสี่ยงในเรื่องการต่อสัญญาเช่า โดยครึ่งหลังของปี พ.ศ. 2547 เป็นต้นมา รายการของบริษัทฯ 3 รายการ ไม่ได้รับการต่อสัญญาเช่าเวลาจากสถานีโทรทัศน์ ทำให้มีผลกระทบต่อรายได้โฆษณาของบริษัทฯ เป็นอย่างสูง ดังนั้นในปี พ.ศ. 2548 ทางบริษัทฯ จึงได้ขยายธุรกิจสื่อให้ครอบคลุมสื่อวีซีดี, สื่อสิ่งพิมพ์ และสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม เพื่อขยายฐานรายได้[1]

ในปี พ.ศ. 2549 ทางบริษัทฯ ได้ปรับโครงสร้างการบริหารงาน โดยกลุ่มผู้บริหารระดับสูงชุดใหม่ นำโดย ชาลอต โทณวณิก ในตำแหน่งประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และ ธงชัย ชั้นเสวิกุล ในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ เข้ามาบริหารเพื่อกำหนดกลยุทธ์และสร้างผลประกอบการที่ดียิ่งขึ้น โดยพยายามลดต้นทุนการผลิตทุกด้าน รวมทั้งเน้นการผลิตรายการโทรทัศน์ให้กับสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 เป็นหลัก[4] จนทำให้บางรายการของบริษัทฯ ที่กำลังออกอากาศในสถานีโทรทัศน์ช่องอื่น ๆ ในขณะนั้น ต้องถูกดูแลโดยบริษัทที่ยุวดีได้ตั้งขึ้นมาใหม่ นั่นคือ บริษัท เอเชีย เทเลวิชัน แอนด์ มีเดีย จำกัด

ทั้งนี้ ในปลายปี พ.ศ. 2552 ทางบริษัทฯ ได้โอนขายทรัพย์สินในการดำเนินธุรกิจสื่อทั้งหมดให้แก่ บริษัท มีเดีย สตูดิโอ จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่มีวัตถุประสงค์ที่จะดำเนินการด้านธุรกิจสตูดิโอ โดยได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในกลุ่มอสังหาริมทรัพย์ โดยมี โยธิน บุญดีเจริญ เข้ามารับช่วงกิจการต่อ ส่วนมีเดีย สตูดิโอ มีชาลอตเป็นประธานบริษัท เพื่อผลิตรายการโทรทัศน์และสื่อต่าง ๆ จากบริษัทเดิมต่อไป โดยมีสถานีโทรทัศน์ดาวเทียมของตนเองภายใต้ชื่อ ที แชนแนล, มีเดีย แชนแนล, ยู แคมปัส แชนแนล และ มีเดีย บูม อีกด้วย[5] แต่ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2550 ทางบริษัทฯ ได้ยกเลิกสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมที แชนแนล เนื่องจากผลประกอบการที่ผ่านมาไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ และเปลี่ยนมาดำเนินการในรูปแบบการรับจ้างผลิตรายการช่องสถานีลูกทุ่งให้กับทรูวิชั่นส์ โดยยังคงรูปแบบรายการเหมือนสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมเดิม ส่งผลให้ในวันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2553 ชาลอตได้ลาออกจากตำแหน่งประธานของมีเดีย สตูดิโอ และเปลี่ยนชื่อบริษัท มีเดีย ออฟ มีเดียส์ เป็น บริษัท แกรนด์ คาแนล แลนด์ จำกัด (มหาชน) และเปลี่ยนแปลงรูปแบบการดำเนินธุรกิจเป็นทางอสังหาริมทรัพย์แทน โดยได้โอนสิทธิ์ในการดำเนินธุรกิจในด้านผลิตรายการโทรทัศน์ทั้งหมดจากบริษัทฯ ให้กับบริษัทย่อย คือ มีเดีย สตูดิโอ และยังคงดำเนินธุรกิจด้านสื่อและการผลิตรายการโทรทัศน์มาโดยตลอดจนถึงปัจจุบัน[3]

บุคลากร

ผลงาน

ปัจจุบัน มีเดีย สตูดิโอ (หรือในชื่อเดิมคือ มีเดีย ออฟ มีเดียส์) มีรายการโทรทัศน์ที่กำลังออกอากาศอยู่ 5 รายการ เป็นรายการประเภทเกมโชว์, วาไรตี้โชว์ และรายการข่าว ซึ่งออกอากาศทางช่อง 7 เอชดี ทั้งหมด ทั้งนี้ รายการโทรทัศน์ที่กำลังจะออกอากาศในอนาคตเน้น "ตัวเอน" และรายการโทรทัศน์ที่กำลังออกอากาศอยู่ในปัจจุบันเน้น "ตัวหนา"

รายการปกิณกะบันเทิง

ละครและภาพยนตร์

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 มีเดีย ออฟ มีเดียส์. "ข้อมูลองค์กร (1)". Medias.co.th. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. แกรนด์ คาแนล แลนด์. "ABOUT US". Grandcanalland.com. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. 3.0 3.1 กรุงเทพธุรกิจออนไลน์ (13 มกราคม 2553). "มีเดีย ออฟ มีเดียส์..วันที่ไร้เงา 'ชาลอต โทณวณิก'". Bangkokbiznews.com. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  4. มีเดีย ออฟ มีเดียส์. "ข้อมูลองค์กร (2)". Medias.co.th. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  5. ประชาชาติธุรกิจออนไลน์ (30 เมษายน 2551). "มีเดีย ออฟ มีเดียส์ ทุ่ม 100 ล้านขยายธุรกิจ ประกาศลุยโทรทัศน์ดาวเทียม". Prachachat.net. สืบค้นเมื่อ 28 เมษายน 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  6. "หนังญี่ปุ่น..ของโตโฮ....ชื่อดังในอดีต...ใน ศึกอวสาน ก๊อตซิลล่า. มาแล้ว". thaicine.org. 21 April 2013. สืบค้นเมื่อ 18 May 2014.

แหล่งข้อมูลอื่น