ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โครงกระดูกมนุษย์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับไอโอเอส
Atcovi (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 2001:FB1:156:DF24:FD32:6539:961A:23B0 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย BeckNoDa
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
Copyright (c) 2018 Visly Inc.
{{กล่องข้อมูล กายวิภาคศาสตร์
|Name = โครงกระดูกมนุษย์
|Greek = σκελετός
|Image = Human-Skeleton.jpg
|Caption = โครงกระดูกมนุษย์ที่จัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ใน[[โอคลาโฮมาซิตี|นครโอคลาโฮมา]] [[สหรัฐ|สหรัฐอเมริกา]]
|Width = 250px
}}


'''โครงกระดูกมนุษย์''' เป็นโครงประกอบภายในร่างกาย ประกอบไปด้วย[[กระดูก]]ชิ้นต่าง ๆ ในร่างกาย ซึ่งเชื่อมต่อกันด้วยโครงสร้างของ[[ข้อต่อ]] [[เอ็น]] [[กล้ามเนื้อ]] [[กระดูกอ่อน]] และ[[อวัยวะ]]ต่าง ๆ กระดูกในมนุษย์ผู้ใหญ่มีประมาณ 206 ชิ้น และคิดเป็นประมาณ 20 เปอร์เซนต์ของน้ำหนักร่างกาย อย่างไรก็ดี จำนวนของกระดูกอาจแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล ทารกแรกเกิดจะมีกระดูกจำนวนประมาณ 300 ชิ้น ซึ่งต่อมากระดูกบางชิ้นจะมีการเชื่อมรวมกันระหว่างการเจริญเติบโต<ref>{{cite book|title=Mammal anatomy : an illustrated guide.|date=2010|publisher=Marshall Cavendish|location=New York|isbn=9780761478829|page=129|url=https://books.google.ca/books?id=mTPI_d9fyLAC&pg=PA129}}</ref> เช่นส่วนกระเบนเหน็บและส่วนก้นกบของ[[กระดูกสันหลัง]] นอกจากนี้ในทารกแรกเกิดยังมีโครงสร้างของกระดูกอ่อนอยู่มาก เพื่อให้มีการสร้างโครงสร้างของกระดูกระหว่างการเจริญเติบโต และจะมีการพัฒนาไปเป็นกระดูกทั้งหมดเมื่อสิ้นสุดช่วง[[วัยรุ่น]]
Permission is hereby granted, free of charge, to any person obtaining a copy
of this software and associated documentation files (the "Software"), to deal
in the Software without restriction, including without limitation the rights
to use, copy, modify, merge, publish, distribute, sublicense, and/or sell
copies of the Software, and to permit persons to whom the Software is
furnished to do so, subject to the following conditions:


โครงกระดูกมนุษย์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ ได้แก่ [[โครงกระดูกแกน]] และ[[โครงกระดูกรยางค์]] โครงกระดูกแกนประกอบด้วย[[กระดูกสันหลัง]] [[กระดูกซี่โครง]] [[กระดูกอก]] [[กะโหลกศีรษะ]] และกระดูกอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ส่วนโครงกระดูกรยางค์ ซึ่งเชื่อมกับโครงกระดูกแกน ประกอบด้วย[[กระดูกโอบอก]] [[กระดูกเชิงกราน]] และกระดูกของ[[รยางค์บน]] และ[[รยางค์ล่าง]]
The above copyright notice and this permission notice shall be included in all
copies or substantial portions of the Software.


โครงกระดูกมนุษย์มีหน้าที่สำคัญหกประการ ได้แก่ ค้ำจุนร่างกาย เคลื่อนไหว ป้องกันอวัยวะภายใน ผลิต[[เซลล์เม็ดเลือด]] สะสมแร่ธาตุ และควบคุม[[ฮอร์โมน]]
THE SOFTWARE IS PROVIDED "AS IS", WITHOUT WARRANTY OF ANY KIND, EXPRESS OR

IMPLIED, INCLUDING BUT NOT LIMITED TO THE WARRANTIES OF MERCHANTABILITY,
กระดูกจะติดต่อกับกระดูกอีกชิ้น และประกอบเข้าด้วยกันเป็นโครงกระดูกด้วยเอ็นและกล้ามเนื้อเป็นส่วนใหญ่ ยกเว้นใน[[กระดูกโคนลิ้น]] (Hyoid bone) ซึ่งเป็นกระดูกที่ไม่ติดต่อกับกระดูกชิ้นอื่น ๆ โดยตรง แต่จะยึดไว้ในบริเวณส่วนบนของ[[คอหอย]]ด้วยเอ็นและกล้ามเนื้อใกล้เคียง
FITNESS FOR A PARTICULAR PURPOSE AND NONINFRINGEMENT. IN NO EVENT SHALL THE

AUTHORS OR COPYRIGHT HOLDERS BE LIABLE FOR ANY CLAIM, DAMAGES OR OTHER
กระดูกชิ้นที่ใหญ่ที่สุดในมนุษย์คือ[[กระดูกต้นขา]] (Femur) ในขณะที่กระดูกชิ้นเล็กที่สุดคือ[[กระดูกโกลน]] (Stapes) ซึ่งเป็นกระดูกของ[[หูชั้นกลาง]]ชิ้นหนึ่ง
LIABILITY, WHETHER IN AN ACTION OF CONTRACT, TORT OR OTHERWISE, ARISING FROM,
OUT OF OR IN CONNECTION WITH THE SOFTWARE OR THE USE OR OTHER DEALINGS IN THE
SOFTWARE.


== ประเภทของโครงกระดูก ==
== ประเภทของโครงกระดูก ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:25, 6 พฤศจิกายน 2563

โครงกระดูกมนุษย์
โครงกระดูกมนุษย์ที่จัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ในนครโอคลาโฮมา สหรัฐอเมริกา
รายละเอียด
ตัวระบุ
ภาษากรีกσκελετός
TA98A02.0.00.000
TA2352
FMA23881
อภิธานศัพท์กายวิภาคศาสตร์

โครงกระดูกมนุษย์ เป็นโครงประกอบภายในร่างกาย ประกอบไปด้วยกระดูกชิ้นต่าง ๆ ในร่างกาย ซึ่งเชื่อมต่อกันด้วยโครงสร้างของข้อต่อ เอ็น กล้ามเนื้อ กระดูกอ่อน และอวัยวะต่าง ๆ กระดูกในมนุษย์ผู้ใหญ่มีประมาณ 206 ชิ้น และคิดเป็นประมาณ 20 เปอร์เซนต์ของน้ำหนักร่างกาย อย่างไรก็ดี จำนวนของกระดูกอาจแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล ทารกแรกเกิดจะมีกระดูกจำนวนประมาณ 300 ชิ้น ซึ่งต่อมากระดูกบางชิ้นจะมีการเชื่อมรวมกันระหว่างการเจริญเติบโต[1] เช่นส่วนกระเบนเหน็บและส่วนก้นกบของกระดูกสันหลัง นอกจากนี้ในทารกแรกเกิดยังมีโครงสร้างของกระดูกอ่อนอยู่มาก เพื่อให้มีการสร้างโครงสร้างของกระดูกระหว่างการเจริญเติบโต และจะมีการพัฒนาไปเป็นกระดูกทั้งหมดเมื่อสิ้นสุดช่วงวัยรุ่น

โครงกระดูกมนุษย์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ ได้แก่ โครงกระดูกแกน และโครงกระดูกรยางค์ โครงกระดูกแกนประกอบด้วยกระดูกสันหลัง กระดูกซี่โครง กระดูกอก กะโหลกศีรษะ และกระดูกอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ส่วนโครงกระดูกรยางค์ ซึ่งเชื่อมกับโครงกระดูกแกน ประกอบด้วยกระดูกโอบอก กระดูกเชิงกราน และกระดูกของรยางค์บน และรยางค์ล่าง

โครงกระดูกมนุษย์มีหน้าที่สำคัญหกประการ ได้แก่ ค้ำจุนร่างกาย เคลื่อนไหว ป้องกันอวัยวะภายใน ผลิตเซลล์เม็ดเลือด สะสมแร่ธาตุ และควบคุมฮอร์โมน

กระดูกจะติดต่อกับกระดูกอีกชิ้น และประกอบเข้าด้วยกันเป็นโครงกระดูกด้วยเอ็นและกล้ามเนื้อเป็นส่วนใหญ่ ยกเว้นในกระดูกโคนลิ้น (Hyoid bone) ซึ่งเป็นกระดูกที่ไม่ติดต่อกับกระดูกชิ้นอื่น ๆ โดยตรง แต่จะยึดไว้ในบริเวณส่วนบนของคอหอยด้วยเอ็นและกล้ามเนื้อใกล้เคียง

กระดูกชิ้นที่ใหญ่ที่สุดในมนุษย์คือกระดูกต้นขา (Femur) ในขณะที่กระดูกชิ้นเล็กที่สุดคือกระดูกโกลน (Stapes) ซึ่งเป็นกระดูกของหูชั้นกลางชิ้นหนึ่ง

ประเภทของโครงกระดูก

โครงกระดูกแกน

โครงกระดูกแกนในผู้ใหญ่ประกอบด้วยกระดูกจำนวน 80 ชิ้น ซึ่งวางตัวในแนวแกนกลางของลำตัว ได้แก่

โครงกระดูกรยางค์

โครงกระดูกรยางค์ในผู้ใหญ่จะมีทั้งหมด 126 ชิ้น ซึ่งจะอยู่ในส่วนแขนและขาของร่างกายเพื่อช่วยในการเคลื่อนไหว โดยจะแบ่งออกเป็น 6 ส่วน ได้แก่

หน้าที่

โครงกระดูกของมนุษย์

โครงกระดูกมีหน้าที่ที่สำคัญหลายประการ ได้แก่

โรคที่เกี่ยวกับโครงกระดูก

โรคที่เกี่ยวกับโครงกระดูกจะส่งผลต่อความแข็งแรงและความสามารถในการเคลื่อนไหวของร่างกายโดยตรง ความผิดปกติของโครงกระดูกที่พบบ่อยคือกระดูกหัก ซึ่งเกิดจากการที่กระดูกได้รับแรงที่มากเกินไป ซึ่งอาจเป็นเพียงกระดูกที่หักอยู่ภายใน หรืออาจมีส่วนใดส่วนหนึ่งของกระดูกที่โผล่พ้นผิวหนังขึ้นมาก็ได้ในกรณีร้ายแรง นอกจากนี้ ภาวะกระดูกหักยังพบได้ง่ายในผู้ป่วยโรคกระดูกพรุน ซึ่งมักพบในผู้สูงอายุและสตรีวัยหมดประจำเดือน โรคของกระดูกที่จัดว่าร้ายแรง ได้แก่ เนื้องอกและมะเร็งของกระดูก ซึ่งจำเป็นต้องได้รับการรักษาโดยการผ่าตัด นอกจากนี้ ภาวะข้ออักเสบ ยังส่งผลเสียต่อกระดูกในบริเวณข้อต่อ ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกเจ็บปวดอย่างรุนแรงและเคลื่อนไหวลำบากอีกด้วย

อ้างอิง

  1. Mammal anatomy : an illustrated guide. New York: Marshall Cavendish. 2010. p. 129. ISBN 9780761478829.