ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอโมจิ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Noto Emoji KitKat 263a.svg|thumb|180px|เอโมจิรูปหนึ่ง ประดิษฐ์โดยโครงการ[[ฟอนต์โนโต|โนโต]]]]
[[ไฟล์:Noto Emoji KitKat 263a.svg|thumb|180px|เอโมจิรูปหนึ่ง ประดิษฐ์โดยโครงการ[[ฟอนต์โนโต|โนโต]]]]
'''อีโมจิ''' () หรือ '''อิโมจี''' () คือตัวหนังสือความคิดและสไมลีย์ที่ใช้กันในข้อความอิเล็กทรอนิกส์และเว็บเพจ เอโมจิปรากฏในหลายรูปแบบ เช่น การแสดงสีหน้าและกิริยาอาการ วัตถุ สถานที่ ลมฟ้าอากาศ สัตว์ เป็นต้น อีโมจิมีลักษณะเหมือนสัญรูปอารมณ์มาก แต่มาจากรูปภาพจริงแทนที่จะมาจากตัวอักษร ตัวเลข หรือเครื่องหมายวรรคตอนประสมกันอย่างสัญรูปอารมณ์ เดิมคำ ''เอโมจิ'' มีความหมายว่า ตัวหนังสือภาพ โดยมาจากคำ ''เอะ'' ({{lang|ja|絵}}, "ภาพ") ประสมกับคำ ''โมจิ'' ({{lang|ja|文字}}, "ตัวหนังสือ") ความคล้ายคลึงระหว่างรูปอักษรโรมันของคำนี้ (คือ {{lang|ja|''emoji''}}) กับคำ {{lang|en|''emotion''}} และ {{lang|en|''emoticon''}} ในภาษาอังกฤษเป็นเรื่องบังเอิญเท่านั้น
'''<span lang="ja">อี</span>โมจิ''' () หรือ '''อิโมจี''' () คือตัวหนังสือความคิดและสไมลีย์ที่ใช้กันในข้อความอิเล็กทรอนิกส์และเว็บเพจ เอโมจิปรากฏในหลายรูปแบบ เช่น การแสดงสีหน้าและกิริยาอาการ วัตถุ สถานที่ ลมฟ้าอากาศ สัตว์ เป็นต้น อีโมจิมีลักษณะเหมือนสัญรูปอารมณ์มาก แต่มาจากรูปภาพจริงแทนที่จะมาจากตัวอักษร ตัวเลข หรือเครื่องหมายวรรคตอนประสมกันอย่างสัญรูปอารมณ์ เดิมคำมีความหมายว่า ตัวหนังสือภาพ โดยมาจากคำ ({{lang|ja|絵}}, "ภาพ") ประสมกับคำ ''โมจิ'' ({{lang|ja|文字}}, "ตัวหนังสือ") ความคล้ายคลึงระหว่างรูปอักษรโรมันของคำนี้ (คือ {{lang|ja|''emoji''}}) กับคำ {{lang|en|''emotion''}} และ {{lang|en|''emoticon''}} ในภาษาอังกฤษเป็นเรื่องบังเอิญเท่านั้น


เอโมจิมีต้นกำเนิดมาจากโทรศัพท์เคลื่อนที่ของญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2542 โดยนายชิเกตากะ คูริตะ ผู้มีอาชีพนักออกแบบของบริษัทผู้ให้บริการโทรศัพท์แห่งหนึ่งในญี่ปุ่นเพื่อช่วยให้การสื่อสารทางโทรศัพท์เคลื่อนที่นั้นง่ายขึ้น ในครั้งนั้นเขาได้คิดค้นเอโมจิรวมทั้งหมด 176 แบบ
เอโมจิมีต้นกำเนิดมาจากโทรศัพท์เคลื่อนที่ของญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2542 โดยนายชิเกตากะ คูริตะ ผู้มีอาชีพนักออกแบบของบริษัทผู้ให้บริการโทรศัพท์แห่งหนึ่งในญี่ปุ่นเพื่อช่วยให้การสื่อสารทางโทรศัพท์เคลื่อนที่นั้นง่ายขึ้น ในครั้งนั้นเขาได้คิดค้นเอโมจิรวมทั้งหมด 176 แบบ


ในคริสต์ทศวรรษ 2010 อีโมจิได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นทั่วโลกหลังจากที่มีการเพิ่มเอโมจิเข้าไปในระบบปฏิบัติการสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่หลายระบบ ปัจจุบันถือว่าเอโมจิเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมประชานิยมในโลกตะวันตก ในปี พ.ศ. 2558 ''[[ออกซฟอร์ดดิกชันนารีส์]]'' ประกาศให้เอโมจิรูปใบหน้ากับน้ำตาแห่งความยินดี (Face with Tears of Joy emoji) เป็นคำแห่งปี
ในคริสต์ทศวรรษ 2010 อีโมจิได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นทั่วโลกหลังจากที่มีการเพิ่มเอโมจิเข้าไปในระบบปฏิบัติการสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่หลายระบบ ปัจจุบันถือว่าเอโมจิเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมประชานิยมในโลกตะวันตก ในปี พ.ศ. 2558 ''[[ออกซฟอร์ดดิกชันนารีส์]]'' ประกาศให้เอโมจิรูปใบหน้ากับน้ำตาแห่งความยินดี (เอโมจิ of Joy emoji) เป็นคำแห่งปี


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:39, 2 พฤศจิกายน 2563

เอโมจิรูปหนึ่ง ประดิษฐ์โดยโครงการโนโต

อีโมจิ () หรือ อิโมจี () คือตัวหนังสือความคิดและสไมลีย์ที่ใช้กันในข้อความอิเล็กทรอนิกส์และเว็บเพจ เอโมจิปรากฏในหลายรูปแบบ เช่น การแสดงสีหน้าและกิริยาอาการ วัตถุ สถานที่ ลมฟ้าอากาศ สัตว์ เป็นต้น อีโมจิมีลักษณะเหมือนสัญรูปอารมณ์มาก แต่มาจากรูปภาพจริงแทนที่จะมาจากตัวอักษร ตัวเลข หรือเครื่องหมายวรรคตอนประสมกันอย่างสัญรูปอารมณ์ เดิมคำมีความหมายว่า ตัวหนังสือภาพ โดยมาจากคำ (, "ภาพ") ประสมกับคำ โมจิ (文字, "ตัวหนังสือ") ความคล้ายคลึงระหว่างรูปอักษรโรมันของคำนี้ (คือ [emoji] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) กับคำ [emotion] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) และ [emoticon] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) ในภาษาอังกฤษเป็นเรื่องบังเอิญเท่านั้น

เอโมจิมีต้นกำเนิดมาจากโทรศัพท์เคลื่อนที่ของญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2542 โดยนายชิเกตากะ คูริตะ ผู้มีอาชีพนักออกแบบของบริษัทผู้ให้บริการโทรศัพท์แห่งหนึ่งในญี่ปุ่นเพื่อช่วยให้การสื่อสารทางโทรศัพท์เคลื่อนที่นั้นง่ายขึ้น ในครั้งนั้นเขาได้คิดค้นเอโมจิรวมทั้งหมด 176 แบบ

ในคริสต์ทศวรรษ 2010 อีโมจิได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นทั่วโลกหลังจากที่มีการเพิ่มเอโมจิเข้าไปในระบบปฏิบัติการสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่หลายระบบ ปัจจุบันถือว่าเอโมจิเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมประชานิยมในโลกตะวันตก ในปี พ.ศ. 2558 ออกซฟอร์ดดิกชันนารีส์ ประกาศให้เอโมจิรูปใบหน้ากับน้ำตาแห่งความยินดี (เอโมจิ of Joy emoji) เป็นคำแห่งปี

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น