ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 25"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 28: บรรทัด 28:
[[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ
[[พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร]] ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ


พลเอก พระประจนปัจจนึก ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
พลเอก [[พระประจนปัจจนึก]] ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ


== รายชื่อคณะรัฐมนตรีคณะที่ 25 ของไทย ==
== รายชื่อคณะรัฐมนตรีคณะที่ 25 ของไทย ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:21, 25 ตุลาคม 2563

คณะรัฐมนตรีแปลก 7
คณะรัฐมนตรีคณะที่ 25 แห่งราชอาณาจักรไทย
วันแต่งตั้ง28 มีนาคม​ 2495
วันสิ้นสุด26 กุมภาพันธ์​ 2500
(4 ปี 335 วัน)
บุคคลและองค์กร
ประมุขแห่งรัฐพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
หัวหน้ารัฐบาลแปลก พิบูลสงคราม
ประวัติ
ก่อนหน้าคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 24
ถัดไปคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 26

คณะรัฐมนตรี คณะที่ 25 ของไทย (24 มีนาคม พ.ศ. 2495 - 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500)

จอมพลแปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการลงวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2495

พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศ

พลเอก พระประจนปัจจนึก ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ

รายชื่อคณะรัฐมนตรีคณะที่ 25 ของไทย

ในวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2495 มีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี ดังนี้[1]

  1. จอมพล ผิน ชุณหะวัณ เป็น รองนายกรัฐมนตรี
  2. จอมพล แปลก พิบูลสงคราม เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
  3. พลตรีเภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
  4. พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
  5. จอมพลเรือ หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ศาสตระรุจิ) เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสหกรณ์
  6. พลเรือโท หลวงสุนาวินวิวัฒน์ (พิศาล สุนาวินวิวัฒน์) เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร
  7. จอมพลอากาศ ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
  8. พลตรี บัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
  9. พระนิติธารณ์พิเศษ (ชุบ มัธยมจันทร์) เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
  10. จอมพล แปลก พิบูลสงคราม เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม
  11. พลเอก มังกร พรหมโยธี เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
  12. นายวรการบัญชา เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ
  13. พระบริรักษ์เวชชการ (ไล่ฮวด ติตติรานนท์) เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
  14. นายสุกิจ นิมมานเหมินท์ เป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
  15. พลอากาศตรี มุนี มหาสันทนะ เวชยันต์รังสฤษฎ์ เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการสำนักนายกรัฐมนตรี
  16. จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม
  17. พลตรี ประยูร ภมรมนตรี เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง
  18. นายเขมชาติ บุณยรัตพันธุ์ เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
  19. พันตำรวจเอก ละม้าย อุทยานานนท์ เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตร
  20. พลเรือตรี หลวงชำนาญอรรถยุทธ์ (เอื้อน กุลไกรเวส) เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
  21. พันเอก ประมาณ อดิเรกสาร เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
  22. พลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์ เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
  23. พลโท เดช เดชประดิยุทธ เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
  24. พลโท หลวงสวัสดิ์สรยุทธ เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงวัฒนธรรม
  25. พลอากาศโท หลวงเชิดวุฒากาศ (สุดใจ เชิดวุฒิ) เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
  26. พันเอก ศิริ สิริโยธิน เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเศรษฐการ
  27. นายเลื่อน พงษ์โสภณ เป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม

การแถลงนโยบายของ คณะรัฐมนตรีคณะที่ 25 ของไทย

รัฐบาลแถลงนโยบายต่อสภาผู้แทนราษฎร ระหว่างวันที่ 3-4 เมษายน สภาผู้แทนราษฎรได้ลงมติให้ความไว้วางใจ เมื่อวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2495

นโยบายของรัฐบาลคณะนี้ ปรากฏในหนังสือราชกิจจานุเบกษา พ.ศ. 2495 เล่ม 69 ตอน 26 หน้า 1026

การปรับปรุง คณะรัฐมนตรีคณะที่ 25 ของไทย

  • วันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2495[2]
    • นายสุกิจ นิมมานเหมินท์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ได้กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่ง
    • พลอากาศตรี มุนี มหาสันทนะ เวชยันต์รังสฤษฎ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการสำนักนายกรัฐมนตรีเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
  • วันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2495[3]
    • พลตำรวจตรี ละม้าย อุทยานานนท์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตร เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสหกรณ์ อีกตำแหน่งหนึ่ง
  • วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2496[4]
    • พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ์ (วงษ์ ลัดพลี) เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม แทนพระนิติธารณ์พิเศษ (ชุบ มัธยมจันทร์) ซึ่งถึงแก่อนิจกรรม เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2496
  • วันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2496 มีการปรับปรุงรัฐมนตรีใหม่บางท่าน คือ[5]
    • พลอากาศโท มุนี มหาสันทนะ เวชยันต์รังสฤษฎ์ พ้นจากตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ไปเป็น รัฐมนตรีช่วยว่าการสำนักนายกรัฐมนตรี
    • พลโท บัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และแต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
    • พลเรือโท หลวงสุนาวินวิวัฒ (พิศาล สุนาวิน) พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร และแต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
    • จอมพล ผิน ชุณหะวัณ รองนายกรัฐมนตรี เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร อีกตำแหน่งหนึ่ง
    • พลตำรวจตรี ละม้าย อุทยานานนท์ พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสหกรณ์
    • พลจัตวา ศิริ สิริโยธิน รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเศรษฐการ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสหกรณ์ อีกตำแหน่งหนึ่ง
    • พลจัตวา ประมาณ อดิเรกสาร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมอีกตำแหน่งหนึ่ง
  • วันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2496
    • พลอากาศโท มุนี มหาสันทนะ เวชยันต์รังสฤษฎ์ เป็นรองนายกรัฐมนตรี
  • วันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2497[6]
    • จอมพลเรือ หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ศาสตระรุจิ) เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสหกรณ์
    • พลจัตวา ศิริ สิริโยธิน เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสหกรณ์
  • วันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497
    • พันเอก นายวรการบัญชา พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ และแต่งตั้งให้เป็นรองนายกรัฐมนตรี
    • จอมพล แปลก พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ อีกตำแหน่งหนึ่ง
  • วันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497
    • พลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง อีกตำแหน่งหนึ่ง
  • วันที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2497
    • พลโท ประยูร ภมรมนตรี รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข อีกตำแหน่งหนึ่ง
  • วันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2497
    • พระยาบริรักษ์เวชชการ (ไล่ฮวด ติตติรานนท์) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ขอกราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่ง
    • พลโท ประยูร ภมรมนตรี รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
  • วันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2497
    • จอมพล ผิน ชุณหะวัณ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม อีกตำแหน่งหนึ่ง
    • จอมพล แปลก พิบูลสงคราม พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ
    • พลตรี ศิริ สิริโยธิน รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเศรษฐการ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ
    • พันตรี รักษ์ ปันยารชุน เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
  • วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2497
    • นายเขมชาติ บุณยรัตพันธุ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ได้กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่ง
  • วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2497[7]
    • พลตรี ศิริ สิริโยธิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐการ พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสหกรณ์
    • พลเอก เดช เดชประดิยุทธ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสหกรณ์ อีกตำแหน่งหนึ่ง
  • วันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2497 ได้มีการปรับปรุงคณะรัฐมนตรีและแต่งตั้งรัฐมนตรี
    • จอมพลอากาศ ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี
    • พลอากาศโท มุนี มหาสันทนะ เวชยันต์รังสฤษฎ์ พ้นจากตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
    • จอมพล แปลก พิบูลสงคราม พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม และแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อีกตำแหน่งหนึ่ง
    • พลเรือโท หลวงสุนาวินวิวัฒ (พิศาล สุนาวิน) พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ไปให้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงงวัฒนธรรม
    • จอมพลเรือ หลวงยุทธศาสตร์โกศล (ประยูร ศาสตระรุจิ) พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสหกรณ์ ไปเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม
    • พลตรี ประมาณ อดิเรกสาร พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
    • พลโท ไสว ไสวแสนยากร เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
    • พลโท ถนอม กิตติขจร เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสหกรณ์
  • วันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2498 ให้รัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง คือ[8]
    • จอมพล ผิน ชุณหะวัณ พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
    • พลเอก เดช เดชประดิยุทธ พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสหกรณ์
    • พลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์ พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง
    • พลโท ประยูร ภมรมนตรี พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง
  • วันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2499 ได้มีการปรับปรุงคณะรัฐมนตรี คือ
    • จอมพล ผิน ชุณหะวัณ พ้นจากตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี และ
    • พลโท บัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา ดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
  • วันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2499
    • หม่อมหลวงชูชาติ กำภู เป็นรัฐมนตรี

การสิ้นสุดของ คณะรัฐมนตรีคณะที่ 25 ของไทย

คณะรัฐมนตรีคณะนี้สิ้นสุด เนื่องจากสมาชิกชุดที่ให้ความไว้วางใจขณะเข้ารับหน้าที่สิ้นสุดลงตามวาระ เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500

อ้างอิง

  1. พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งและแต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๒๗ ราย)
  2. พระบรมราชโองการ ประกาศ รัฐมนตรีลาออกและแต่งตั้งรัฐมนตรี (นายสุกิจ นิมมานเหมินท รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ได้ลาออกจากตำแหน่ง แต่งตั้งให้ พลอากาศตรี มุนี มหาสันทนะ เวชยันต์รังสฤษดิ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการสำนักนายกรัฐมนตรี เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวง อุตสาหกรรมสืบแทน)
  3. พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการสหกรณ์ (นายพลตำรวจตรี ละม้าย อุทยานานนท์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตร เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการสหกรณ์ อีกตำแหน่งหนึ่ง)
  4. พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ์)
  5. พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๗ ราย)
  6. พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรีว่าการและรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสหกรณ์ (พลเรือเอก หลวงยุทธศาสตร์โกศล และพลจัตวา ศิริ สิริโยธิน)
  7. พระบรมราชโองการ ประกาศ ปรับปรุงรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสหกรณ์ (๑. พลตรี ศิริ สิริโยธิน พ้นจากตำแหน่ง ๒. พลเอก เดช เดชประดิยุทธ ดำรงตำแหน่ง)
  8. พระบรมราชโองการ ประกาศ ให้รัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง (จอมพล ผิน ชุณหะวัณ พลเอก เดช เดชประดิยุทธ นายพลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์ พลโท ประยูร ภมรมนตรี)