ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โมแจงสตูดิโอส์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Prem4826 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Prem4826 (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขอ้างอิง
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
}}
}}


'''โมแจงสตูดิโอส์''' ({{lang-en|Mojang Studios}}){{#tag:ref|คำว่า Mojang มาจากภาษาสวีเดน {{lang|sv|[[wikt:en:mojäng|mojäng]]}} ([https://en.wikipedia.org/wiki/Help:IPA/Swedish mʊˈjɛŋ]) {{literal translation|แกดเจ็ต}}<ref name="Reuters: Private">{{cite web |url=https://www.reuters.com/article/us-sweden-startups-minecraft-idUSBRE9130A220130204 |title=Hit game Minecraft to stay private |first=Mia |last=Shanley |date=4 February 2013 |agency=[[Reuters]] |access-date=17 January 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190119121454/https://www.reuters.com/article/us-sweden-startups-minecraft-idUSBRE9130A220130204 |archive-date=19 January 2019 |url-status=live}}</ref> ทั้งนี้มีการถกเถียงมาโดยตลอดว่าอ่านออกเสียงว่า "โมแจง" หรือ "มุเย็ง" โดยล่าสุดในปี พ.ศ. 2563 มีการเปลี่ยนชื่อและโลโก้ของบริษัทใหม่ซึ่งกำหนดให้อ่านว่า "โมแจง" ([https://en.wikipedia.org/wiki/Help:IPA/English moʊˈdʒæŋ]) ตามการออกเสียงของภาษาอังกฤษ<ref>[https://www.youtube.com/watch?v=YosWmbHAr2g Mojang Studios: New Name, Logo, and Trailer!]</ref><ref>[https://twitter.com/Marc_IRL/status/1262066231399657475 Marc Watson: Also a new identity means that we can reinvent both the logo and pronounciation, so anything other than the hard J is incorrect now.]</ref> ฉะนั้นแล้วจึงอนุมานได้ว่าชื่อเก่าที่ผ่านมาอ่านออกเสียงว่า มุเย็ง ตามภาษาสวีเดน เนื่องจากบริษัทก่อตั้งขึ้นในประเทศสวีเดน|group=nb}} เป็นบริษัท[[ผู้พัฒนาวิดีโอเกม|พัฒนาเกม]]สัญชาติ[[สวีเดน]]และเป็นบริษัทลูกของ[[เอกซ์บอกซ์เกมสตูดิโอส์]] ตั้งอยู่ที่เมือง[[สต็อกโฮล์ม]] ก่อตั้งโดย[[มาร์คุส แพร์ช็อน]] ในปี พ.ศ. 2552 ภายใต้ชื่อ '''มุเย็งสเปซิฟิเคชันส์''' (Mojang Specifications) ซึ่งเป็นการสารต่อชื่อจากกิจการวิดีโอก่อนหน้าที่เขาได้ออกมาเมื่อ 2 ปีก่อน บริษัทได้เริ่มพัฒนาเกมแซนด์บอกซ์อย่าง''[[ไมน์คราฟต์]]''ในปีเดียวกันกับที่ก่อตั้งบริษัท (ปัจจุบันเกมดังกล่าวได้กลายเป็น[[List of best-selling video games|เกมที่มียอดขายสูงที่สุดตลอดกาล]]และประสบความสำเร็จในแพลตฟอร์มต่าง ๆ) ต่อมาในช่วงปลายปี พ.ศ. 2553 แพร์ช็อนได้ร่วมมือกับยาค็อบ พอร์เชียร์ (Jakob Porsé) ดำเนินบริษัทภายใต้ชื่อ '''มุเย็ง เอบี''' (Mojang AB) และจ้างคาร์ล มานเนห์ (Carl Manneh) มาเป็นประธานบริหาร เวลาผ่านไปแพร์ช็อนต้องการเลิกทำงานพัฒนา''ไมน์คราฟต์'' จึงเสนอขายสินทรัพย์บริษัท [[ไมโครซอฟท์]]ได้เข้าซื้อบริษัทผ่านเอกซ์บอกซ์เกมสตูดิโอส์ (ในเวลานั้นเรียกว่า ไมโครซอฟท์สตูดิโอส์) ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2557 เป็นผลทำให้แพร์ช็อน พอร์เชียร์ และมานเนห์ลาออกจากบริษัท และต่อมาในปี พ.ศ. 2563 บริษัทได้เปลี่ยนชื่อเป็น '''โมแจงสตูดิโอส์'''
'''โมแจงสตูดิโอส์''' ({{lang-en|Mojang Studios}}){{#tag:ref|คำว่า Mojang มาจากภาษาสวีเดน {{lang|sv|[[wikt:en:mojäng|mojäng]]}} ([https://en.wikipedia.org/wiki/Help:IPA/Swedish mʊˈjɛŋ]) {{literal translation|แกดเจ็ต}}<ref name="Reuters: Private">{{cite web |url=https://www.reuters.com/article/us-sweden-startups-minecraft-idUSBRE9130A220130204 |title=Hit game Minecraft to stay private |first=Mia |last=Shanley |date=4 February 2013 |agency=[[Reuters]] |access-date=17 January 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190119121454/https://www.reuters.com/article/us-sweden-startups-minecraft-idUSBRE9130A220130204 |archive-date=19 January 2019 |url-status=live}}</ref> ทั้งนี้มีการถกเถียงมาโดยตลอดว่าอ่านออกเสียงว่า "โมแจง" หรือ "มุเย็ง" โดยล่าสุดในปี พ.ศ. 2563 มีการเปลี่ยนชื่อและโลโก้ของบริษัทใหม่ซึ่งกำหนดให้อ่านว่า "โมแจง" ([https://en.wikipedia.org/wiki/Help:IPA/English moʊˈdʒæŋ]) ตามการออกเสียงของภาษาอังกฤษ<ref>{{cite web |title=Mojang Studios: New Name, Logo, and Trailer! |url=https://www.youtube.com/watch?v=YosWmbHAr2g |website=YouTube |publisher=Minecraft |date=17 May 2020 |accessdate=9 October 2020 |archive-url=https://web.archive.org/web/20200915205108/https://www.youtube.com/watch?v=YosWmbHAr2g |archive-date=15 September 2020 |url-status=live}}</ref><ref>{{cite web |last1=Watson |first1=Marc |title=Marc Watson's Tweet |url=https://twitter.com/Marc_IRL/status/1262066231399657475 |website=Twitter |accessdate=9 October 2020 |archive-url=https://web.archive.org/web/20200517171048if_/https://twitter.com/Marc_IRL/status/1262066231399657475 |archive-date=17 May 2020 |url-status=live}}</ref> ฉะนั้นแล้วจึงอนุมานได้ว่าชื่อเก่าที่ผ่านมาอ่านออกเสียงว่า มุเย็ง ตามภาษาสวีเดน เนื่องจากบริษัทก่อตั้งขึ้นในประเทศสวีเดน|group=nb}} เป็นบริษัท[[ผู้พัฒนาวิดีโอเกม|พัฒนาเกม]]สัญชาติ[[สวีเดน]]และเป็นบริษัทลูกของ[[เอกซ์บอกซ์เกมสตูดิโอส์]] ตั้งอยู่ที่เมือง[[สต็อกโฮล์ม]] ก่อตั้งโดย[[มาร์คุส แพร์ช็อน]] ในปี พ.ศ. 2552 ภายใต้ชื่อ '''มุเย็งสเปซิฟิเคชันส์''' (Mojang Specifications) ซึ่งเป็นการสารต่อชื่อจากกิจการวิดีโอก่อนหน้าที่เขาได้ออกมาเมื่อ 2 ปีก่อน บริษัทได้เริ่มพัฒนาเกมแซนด์บอกซ์อย่าง''[[ไมน์คราฟต์]]''ในปีเดียวกันกับที่ก่อตั้งบริษัท (ปัจจุบันเกมดังกล่าวได้กลายเป็น[[List of best-selling video games|เกมที่มียอดขายสูงที่สุดตลอดกาล]]และประสบความสำเร็จในแพลตฟอร์มต่าง ๆ) ต่อมาในช่วงปลายปี พ.ศ. 2553 แพร์ช็อนได้ร่วมมือกับยาค็อบ พอร์เชียร์ (Jakob Porsé) ดำเนินบริษัทภายใต้ชื่อ '''มุเย็ง เอบี''' (Mojang AB) และจ้างคาร์ล มานเนห์ (Carl Manneh) มาเป็นประธานบริหาร เวลาผ่านไปแพร์ช็อนต้องการเลิกทำงานพัฒนา''ไมน์คราฟต์'' จึงเสนอขายสินทรัพย์บริษัท [[ไมโครซอฟท์]]ได้เข้าซื้อบริษัทผ่านเอกซ์บอกซ์เกมสตูดิโอส์ (ในเวลานั้นเรียกว่า ไมโครซอฟท์สตูดิโอส์) ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2557 เป็นผลทำให้แพร์ช็อน พอร์เชียร์ และมานเนห์ลาออกจากบริษัท และต่อมาในปี พ.ศ. 2563 บริษัทได้เปลี่ยนชื่อเป็น '''โมแจงสตูดิโอส์'''


ในช่วงปี พ.ศ. 2559 บริษัทมีพนักงานจำนวน 70 คน โดยโยนัส มอร์เทนซ็อน เป็นประธานบริหาร และวู บุย เป็นประธานฝ่ายปฏิบัติการ<ref name="Mojang: About">{{cite web |url=https://www.mojang.com/about/ |title=About |year=2016 |website=Mojang |access-date=16 January 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190116033103/https://www.mojang.com/about/ |archive-date=16 January 2019 |url-status=live}}</ref> นอกจาก''ไมน์คราฟต์''แล้ว บริษัทยังได้พัฒนา[[digital collectable card game|เกมการ์ดสะสมแบบดิจิทัล]]อย่าง''คอลเลอรส์เบน'' (Caller's Bane), [[Turn-based strategy|เกมวางแผนการรบประเภททีละรอบ]]อย่าง''คราวน์แอนด์เคาน์ซิล'' (Crown and Council) และเกมภาคแยกอย่าง''ไมน์คราฟต์เอิร์ท'' (Minecraft Earth) และ''ไมน์คราฟต์ดันเจียนส์'' (Minecraft Dungeons)
ในช่วงปี พ.ศ. 2559 บริษัทมีพนักงานจำนวน 70 คน โดยโยนัส มอร์เทนซ็อน เป็นประธานบริหาร และวู บุย เป็นประธานฝ่ายปฏิบัติการ<ref name="Mojang: About">{{cite web |url=https://www.mojang.com/about/ |title=About |year=2016 |website=Mojang |access-date=16 January 2019 |archive-url=https://web.archive.org/web/20190116033103/https://www.mojang.com/about/ |archive-date=16 January 2019 |url-status=live}}</ref> นอกจาก''ไมน์คราฟต์''แล้ว บริษัทยังได้พัฒนา[[digital collectable card game|เกมการ์ดสะสมแบบดิจิทัล]]อย่าง''คอลเลอรส์เบน'' (Caller's Bane), [[Turn-based strategy|เกมวางแผนการรบประเภททีละรอบ]]อย่าง''คราวน์แอนด์เคาน์ซิล'' (Crown and Council) และเกมภาคแยกอย่าง''ไมน์คราฟต์เอิร์ท'' (Minecraft Earth) และ''ไมน์คราฟต์ดันเจียนส์'' (Minecraft Dungeons)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:06, 9 ตุลาคม 2563

โมแจงสตูดิโอส์
ชื่อเดิม
  • มุเย็งสเปซิฟิเคชัน (2552–2553)
  • มุเย็ง เอบี (2553–2563)
ประเภทบริษัทในเครือ
อุตสาหกรรมวิดีโอเกม
ก่อตั้งพ.ศ. 2552 (อายุ 15 ปี)
ผู้ก่อตั้งมาร์คุส แพร์ช็อน
สำนักงานใหญ่สต็อกโฮล์ม, ประเทศสวีเดน
บุคลากรหลัก
ผลิตภัณฑ์
พนักงาน
70[1] (2559)
บริษัทแม่เอกซ์บอกซ์เกมสตูดิโอส์ (2557–ปัจจุบัน)
เว็บไซต์mojang.com

โมแจงสตูดิโอส์ (อังกฤษ: Mojang Studios)[nb 1] เป็นบริษัทพัฒนาเกมสัญชาติสวีเดนและเป็นบริษัทลูกของเอกซ์บอกซ์เกมสตูดิโอส์ ตั้งอยู่ที่เมืองสต็อกโฮล์ม ก่อตั้งโดยมาร์คุส แพร์ช็อน ในปี พ.ศ. 2552 ภายใต้ชื่อ มุเย็งสเปซิฟิเคชันส์ (Mojang Specifications) ซึ่งเป็นการสารต่อชื่อจากกิจการวิดีโอก่อนหน้าที่เขาได้ออกมาเมื่อ 2 ปีก่อน บริษัทได้เริ่มพัฒนาเกมแซนด์บอกซ์อย่างไมน์คราฟต์ในปีเดียวกันกับที่ก่อตั้งบริษัท (ปัจจุบันเกมดังกล่าวได้กลายเป็นเกมที่มียอดขายสูงที่สุดตลอดกาลและประสบความสำเร็จในแพลตฟอร์มต่าง ๆ) ต่อมาในช่วงปลายปี พ.ศ. 2553 แพร์ช็อนได้ร่วมมือกับยาค็อบ พอร์เชียร์ (Jakob Porsé) ดำเนินบริษัทภายใต้ชื่อ มุเย็ง เอบี (Mojang AB) และจ้างคาร์ล มานเนห์ (Carl Manneh) มาเป็นประธานบริหาร เวลาผ่านไปแพร์ช็อนต้องการเลิกทำงานพัฒนาไมน์คราฟต์ จึงเสนอขายสินทรัพย์บริษัท ไมโครซอฟท์ได้เข้าซื้อบริษัทผ่านเอกซ์บอกซ์เกมสตูดิโอส์ (ในเวลานั้นเรียกว่า ไมโครซอฟท์สตูดิโอส์) ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2557 เป็นผลทำให้แพร์ช็อน พอร์เชียร์ และมานเนห์ลาออกจากบริษัท และต่อมาในปี พ.ศ. 2563 บริษัทได้เปลี่ยนชื่อเป็น โมแจงสตูดิโอส์

ในช่วงปี พ.ศ. 2559 บริษัทมีพนักงานจำนวน 70 คน โดยโยนัส มอร์เทนซ็อน เป็นประธานบริหาร และวู บุย เป็นประธานฝ่ายปฏิบัติการ[5] นอกจากไมน์คราฟต์แล้ว บริษัทยังได้พัฒนาเกมการ์ดสะสมแบบดิจิทัลอย่างคอลเลอรส์เบน (Caller's Bane), เกมวางแผนการรบประเภททีละรอบอย่างคราวน์แอนด์เคาน์ซิล (Crown and Council) และเกมภาคแยกอย่างไมน์คราฟต์เอิร์ท (Minecraft Earth) และไมน์คราฟต์ดันเจียนส์ (Minecraft Dungeons)

เกมที่พัฒนา

ปี (พ.ศ.) ชื่อเกม ประเภทเกม แพลตฟอร์ม เชิงอรรถ อ้างอิง
2554 ไมน์คราฟต์
(Minecraft)
แซนด์บอกซ์ แอนดรอยด์ ไฟร์โอเอส, ไอโอเอส, ลินุกซ์, แมคโอเอส, ไมโครซอฟท์ วินโดวส์, ราสป์เบอร์รีพาย, ทีวีโอเอส, วินโดวส์โฟน [6]
2557 คอลเลอรส์เบน
(Caller's Bane)
เกมการ์ดสะสมแบบดิจิทัล แอนดรอยด์, แมคโอเอส, ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ ชื่อเก่าคือ สกรอลส์ (Scrolls) [7][8]
2559 คราวน์แอนด์เคาน์ซิล
(Caller's Bane)
เกมวางแผนการรบ ลินุกซ์, แมคโอเอส, ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ [9][10]
2562 ไมน์คราฟต์คลาสสิก
(Minecraft Classic)
แซนด์บอกซ์ เบราว์เซอร์ เป็นการปล่อยไมน์คราฟต์รุ่นแรกเริ่มให้เล่นอีกครั้ง [11]
ไมน์คราฟต์เอิร์ท
(Minecraft Earth)
Augmented reality (AR) แอนดรอยด์, ไอโอเอส อยู่ในช่วงเออร์ลีแอ็กเซส (early access) [12]
2563 ไมน์คราฟต์ดันเจียนส์
(Minecraft Dungeons)
Dungeon crawler ไมโครซอฟท์ วินโดวส์, นินเท็นโด สวิตช์, เพลย์สเตชัน 4, เอกซ์บอกซ์วัน [13]

เกมที่จัดจำหน่าย

ปี (พ.ศ.) ชื่อเกม แพลตฟอร์ม ผู้พัฒนา อ้างอิง
2559 โคบอลต์
(Cobalt)
ไมโครซอฟท์ วินโดวส์, เอกซ์บอกซ์ 360, เอกซ์บอกซ์วัน ออกซายเกมสตูดิโอ
(Oxeye Game Studio)
[14]
2560 โคบอลต์ดับเบิลยูเอเอสดี
(Cobalt WASD)
ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ [15]

เชิงอรรถ

  1. คำว่า Mojang มาจากภาษาสวีเดน mojäng (mʊˈjɛŋ) แปลว่า แกดเจ็ต[2] ทั้งนี้มีการถกเถียงมาโดยตลอดว่าอ่านออกเสียงว่า "โมแจง" หรือ "มุเย็ง" โดยล่าสุดในปี พ.ศ. 2563 มีการเปลี่ยนชื่อและโลโก้ของบริษัทใหม่ซึ่งกำหนดให้อ่านว่า "โมแจง" (moʊˈdʒæŋ) ตามการออกเสียงของภาษาอังกฤษ[3][4] ฉะนั้นแล้วจึงอนุมานได้ว่าชื่อเก่าที่ผ่านมาอ่านออกเสียงว่า มุเย็ง ตามภาษาสวีเดน เนื่องจากบริษัทก่อตั้งขึ้นในประเทศสวีเดน

อ้างอิง

  1. "About". Mojang. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 January 2019. สืบค้นเมื่อ 16 January 2019.
  2. Shanley, Mia (4 February 2013). "Hit game Minecraft to stay private". Reuters. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 January 2019. สืบค้นเมื่อ 17 January 2019.
  3. "Mojang Studios: New Name, Logo, and Trailer!". YouTube. Minecraft. 17 May 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 September 2020. สืบค้นเมื่อ 9 October 2020.
  4. Watson, Marc. "Marc Watson's Tweet". Twitter. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 May 2020. สืบค้นเมื่อ 9 October 2020.
  5. "About". Mojang. 2016. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 January 2019. สืบค้นเมื่อ 16 January 2019.
  6. Fulton, Michael (21 March 2019). "Overview of Platforms Minecraft Is Available On". Lifewire. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 January 2019. สืบค้นเมื่อ 17 January 2019.
  7. McWhertor, Michael (10 December 2014). "Minecraft developer Mojang is finally releasing Scrolls". Polygon. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 January 2019. สืบค้นเมื่อ 17 January 2019.
  8. Bailey, Dustin (20 June 2018). "Free games: Mojang's Scrolls is now Caller's Bane, and it's out right now". PCGamesN. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 June 2018. สืบค้นเมื่อ 29 September 2018.
  9. O'Connor, Alice (22 April 2016). "Minecraft Devs Release Crown And Council Free". Rock, Paper, Shotgun. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 January 2019. สืบค้นเมื่อ 17 January 2019.
  10. Caldwell, Brendan (31 January 2017). "Crown and Council gets royally updated, still free". Rock, Paper, Shotgun. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 August 2017. สืบค้นเมื่อ 17 January 2019.
  11. Jones, Ali (8 May 2019). "Minecraft Classic is now available to play for free in your browser". PCGamesN. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 May 2019. สืบค้นเมื่อ 17 May 2019.
  12. Peters, Jay (12 November 2019). "Minecraft Earth is now available in early access in the US". The Verge. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 April 2020. สืบค้นเมื่อ 5 June 2020.
  13. Brown, Matt (25 May 2020). "Minecraft Dungeons launch time, release date – and how to preorder". Windows Central. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 June 2020. สืบค้นเมื่อ 5 June 2020.
  14. Good, Owen S. (17 January 2016). "Mojang-published Cobalt set to launch Feb. 2". Polygon. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 January 2019. สืบค้นเมื่อ 17 January 2019.
  15. Alexandra, Heather (30 November 2017). "Cobalt WASD Is 2-D Counter-Strike With Time Grenades And Super Suits". Kotaku. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 January 2019. สืบค้นเมื่อ 17 January 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น