ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แอร์บูล สุทธิวรรณ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anuwat Attasakulchai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
|term_end =
|term_end =
|nickname= แอร์
|nickname= แอร์
|order2 = สมาชิก[[วุฒิสภาไทย ชุดที่ 12]]
|order2 = สมาชิก[[วุฒิสภาไทย ชุดที่ 12]] (โดยตำแหน่ง)
|term_start2 = 1 ตุลาคม พ.ศ. 2563
|term_start2 = 1 ตุลาคม พ.ศ. 2563
|predecessor2 = พลอากาศเอก [[มานัต วงษ์วาทย์]]
|birth_date= {{วันเกิด-อายุ|2504|03|6}}
|birth_date= {{วันเกิด-อายุ|2504|03|6}}
|birth_place=
|birth_place=

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:10, 5 ตุลาคม 2563

พลอากาศเอก
แอร์บูล สุทธิวรรณ
ผู้บัญชาการทหารอากาศ
เริ่มดำรงตำแหน่ง
1 ตุลาคม พ.ศ. 2563
ก่อนหน้าพลอากาศเอก มานัต วงษ์วาทย์
สมาชิกวุฒิสภาไทย ชุดที่ 12 (โดยตำแหน่ง)
เริ่มดำรงตำแหน่ง
1 ตุลาคม พ.ศ. 2563
ก่อนหน้าพลอากาศเอก มานัต วงษ์วาทย์
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด6 มีนาคม พ.ศ. 2504 (63 ปี)
คู่สมรสผศ.พรรณระวี สุทธิวรรณ
บุตรเอริณ สุทธิวรรณ
ศิษย์เก่าโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน
โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 21
โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช รุ่นที่ 28
โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ รุ่นที่ 40
วิทยาลัยการทัพอากาศ รุ่นที่ 44
ชื่อเล่นแอร์
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง
รับใช้กองทัพอากาศไทย
สังกัด กองทัพอากาศไทย
ยศ พลอากาศเอก
บังคับบัญชากองทัพอากาศไทย
กองบิน 6
ฝูงบิน 106

พลอากาศเอก แอร์บูล สุทธิวรรณ เป็นนายทหารอากาศชาวไทย ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารอากาศไทยคนที่ 27 เริ่มตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2563[1]

แอร์บูลเกิดเมื่อวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2504 โดยชื่อแอร์บูลมาจากภาษาอังกฤษว่า Airbull (แปลไม่เป็นทางการได้ว่า กระทิงเวหา) เป็นกองบินของกองทัพอากาศสหรัฐที่มาฝึกที่ไทยโดยบิดาซึ่งเป็นนายทหารอากาศที่เคยฝึกร่วมจึงนำชื่อนี่มาตั้ง[2]

แอร์บูลจบจากโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน แล้วจึงเรียนต่อที่โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ 21 จากนั้น เข้าสู่โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช รุ่นที่ 28 โดยดำรงตำแหน่งเป็นนักบินเครื่องบินลำเลียง ซี-130 ต่อมา เป็นผู้บังคับบัญชาฝูงบิน 106 และผู้บังคับการกองบิน 6 ในช่วงปี พ.ศ. 2553-2556 เป็นผู้ช่วยทูตทหารอากาศประจำสิงคโปร์[3] ในขณะยศพลอากาศโท เป็นปลัดบัญชีทหารอากาศ[4] แล้วจึงเป็นผู้ทรงคุณวุฒิของกองทัพอากาศ รับพระราชทานยศพลอากาศเอก และยังเป็นนายทหารราชองค์รักษ์[5] จนได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารอากาศ[6][7][8]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

  1. โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งนายทหาร 792 ตำแหน่ง - วอยซ์ทีวี
  2. เปิดที่มาชื่อ"แอร์บูล" กระทิงอากาศ แม่ทัพฟ้าคนใหม่ - สยามรัฐ
  3. พลอากาศเอก แอร์บูล สุทธิวรรณ - ลับลวงพราง
  4. ตรวจเยี่ยมสายวิทยาการปลัดบัญชี ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ - กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ
  5. ราชกิจจานุเบกษา พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งราชองครักษ์ จำนวน 364 ราย - คมชัดลึก
  6. บิ๊กแอร์ คือใคร? พร้อมประวัติและผลงานของ บิ๊กแอร์บูล พล.อ.อ. แอร์บูล สุทธิวรรณ
  7. รู้จักให้มากขึ้น "แอร์บูล" ลูกทัพฟ้า - กรุงเทพธุรกิจ
  8. พล.อ.อ.แอร์บูล สุทธิวรรณ : ผู้บัญชาการทหารอากาศ-ชื่อเท่ - มติชน
  9. ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรีี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจําปี ๒๕๕๔
  10. ประกาศสํานักนายกรัฐมนตรีี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก และเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจําปี ๒๕๕๗