ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปราฟดา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox newspaper
| name = ปราฟดา<br />{{noitalic|{{nobold|{{lang|ru|Правда}}}}}}
| logo = Газета Правда.svg
| image =
| caption = หน้าแรกของ''ปราฟดา'' ในวันที่ 23 มิถุนายน 1941
| type = หนังสือพิมพ์สามวันต่อสัปดาห์
| format = บรอตชีต
| foundation = {{Start date and age|1912|05|05|df=yes}} (ทางการ)
| ceased publication =
| price =
| owners = [[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหพันธรัฐรัสเซีย]]
| editor = Boris Komotsky
| chiefeditor =
| assoceditor =
| staff =
| language = รัสเซีย
| political = [[ลัทธิคอมมิวนิสต์]] <br> [[ลัทธิมากซ์–เลนิน]]
| circulation = 100,300 (2013)
| headquarters = 24 ถนนปราฟดา กรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย
| ISSN = 0233-4275
| website = [http://www.gazeta-pravda.ru Pravda's website] (สาขา [[Communist Party of the Russian Federation|CPRF]])
}}
'''''ปราฟดา''''' ({{lang-en|Pravda}}; {{lang-ru|Правда}}, ท. "ความจริง") เป็นหนังสือพิมพ์บรอตชีตภาษารัสเซีย ในอดีตเป็นหนังสือพิมพ์ราชการประจำ[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต]] มียอดขายวันละ 11 ล้านฉบับ<ref name="Specter">{{Cite news|title = Russia's Purveyor of 'Truth', Pravda, Dies After 84 Years|url = https://www.nytimes.com/1996/07/31/world/russia-s-purveyor-of-truth-pravda-dies-after-84-years.html|newspaper = The New York Times|date = 31 July 1996|access-date = 19 October 2015|issn = 0362-4331|first = Michael|last = Specter}}</ref> เริ่มมีการจัดพิมพ์ในวันที่ 5 พฤษภาคม 1912 ในจักรวรรดิรัสเซีย แต่มีแพร่หลายในต่างประเทศแล้วตั้งแต่เดือนมกราคม 1911<ref>V. I. Lenin, Collected Works, Progress Publishers Moscow, Volume 17, p.45</ref> ต่อมาเป็นหนังสือพิมพ์ระดับแถวหน้าในสหภาพโซเวียตหลัง[[การปฏิวัติตุลาคม]] หนังสือพิมพ์นี้เป็นองค์กรหนึ่งของคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์ฯ ระหว่างปี 1912 ถึง 1991<ref>Merrill, John C. and Harold A. Fisher. ''The world's great dailies: profiles of fifty newspapers'' (1980) pp 242–49</ref>
'''''ปราฟดา''''' ({{lang-en|Pravda}}; {{lang-ru|Правда}}, ท. "ความจริง") เป็นหนังสือพิมพ์บรอตชีตภาษารัสเซีย ในอดีตเป็นหนังสือพิมพ์ราชการประจำ[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต]] มียอดขายวันละ 11 ล้านฉบับ<ref name="Specter">{{Cite news|title = Russia's Purveyor of 'Truth', Pravda, Dies After 84 Years|url = https://www.nytimes.com/1996/07/31/world/russia-s-purveyor-of-truth-pravda-dies-after-84-years.html|newspaper = The New York Times|date = 31 July 1996|access-date = 19 October 2015|issn = 0362-4331|first = Michael|last = Specter}}</ref> เริ่มมีการจัดพิมพ์ในวันที่ 5 พฤษภาคม 1912 ในจักรวรรดิรัสเซีย แต่มีแพร่หลายในต่างประเทศแล้วตั้งแต่เดือนมกราคม 1911<ref>V. I. Lenin, Collected Works, Progress Publishers Moscow, Volume 17, p.45</ref> ต่อมาเป็นหนังสือพิมพ์ระดับแถวหน้าในสหภาพโซเวียตหลัง[[การปฏิวัติตุลาคม]] หนังสือพิมพ์นี้เป็นองค์กรหนึ่งของคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์ฯ ระหว่างปี 1912 ถึง 1991<ref>Merrill, John C. and Harold A. Fisher. ''The world's great dailies: profiles of fifty newspapers'' (1980) pp 242–49</ref>



รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:20, 30 กันยายน 2563

ปราฟดา (อังกฤษ: Pravda; รัสเซีย: Правда, ท. "ความจริง") เป็นหนังสือพิมพ์บรอตชีตภาษารัสเซีย ในอดีตเป็นหนังสือพิมพ์ราชการประจำพรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหภาพโซเวียต มียอดขายวันละ 11 ล้านฉบับ[1] เริ่มมีการจัดพิมพ์ในวันที่ 5 พฤษภาคม 1912 ในจักรวรรดิรัสเซีย แต่มีแพร่หลายในต่างประเทศแล้วตั้งแต่เดือนมกราคม 1911[2] ต่อมาเป็นหนังสือพิมพ์ระดับแถวหน้าในสหภาพโซเวียตหลังการปฏิวัติตุลาคม หนังสือพิมพ์นี้เป็นองค์กรหนึ่งของคณะกรรมการกลางพรรคคอมมิวนิสต์ฯ ระหว่างปี 1912 ถึง 1991[3]

หลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต บอริส เยลต์ซิน ประธานาธิบดีรัสเซีย ขายหนังสือพิมพ์นี้ให้แก่ตระกูลธุรกิจเอกชนชาวกรีกในปี 1996[4] แต่ในปีเดียวกัน เกิดข้อพิพาทภายในระหว่างเจ้าของและนักหนังสือพิมพ์ทำให้เกิดความแตกแยกออกเป็นส่วนต่าง ๆ พรรคคอมมิวนิสต์แห่งสหพันธรัฐรัสเซียเป็นเจ้าของหนังสือพิมพ์ปราฟดา แต่บางส่วนแยกออกไปทำหนังสือพิมพ์ออนไลน์ที่ไม่เกี่ยวข้องกับพรรคคอมมิวนิสต์รัสเซีย[4][5] ทั้งนี้ศาลรัสเซียได้ตัดสินแล้วว่าทั้งสองสามารถใช้ชื่อปราฟดาต่อไปได้[6]

อ้างอิง

  1. Specter, Michael (31 July 1996). "Russia's Purveyor of 'Truth', Pravda, Dies After 84 Years". The New York Times. ISSN 0362-4331. สืบค้นเมื่อ 19 October 2015.
  2. V. I. Lenin, Collected Works, Progress Publishers Moscow, Volume 17, p.45
  3. Merrill, John C. and Harold A. Fisher. The world's great dailies: profiles of fifty newspapers (1980) pp 242–49
  4. 4.0 4.1 "Pravda | Soviet newspaper". Encyclopedia Britannica. สืบค้นเมื่อ 19 October 2015.
  5. "Which Pravda did John McCain write about Syria for?". the Guardian. 19 September 2013. สืบค้นเมื่อ 19 October 2015.
  6. "There is no Pravda. There is Pravda.Ru". English pravda.ru. 16 September 2013. สืบค้นเมื่อ 19 October 2015.