ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
| image_temple = [[ไฟล์:โลโก้วัดปทุมคงคา.gif|200px]]
| image_temple = [[ไฟล์:โลโก้วัดปทุมคงคา.gif|200px]]
| short_describtion =
| short_describtion =
| type_of_place = พระอารามหลวง ชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร
| type_of_place = พระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร
| branch = มหานิกาย
| branch = มหานิกาย
| abbot = [[พระพรหมเสนาบดี (พิมพ์ ญาณวีโร)]]
| abbot = [[พระพรหมเสนาบดี (พิมพ์ ญาณวีโร)]]
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
| principal_buddha =
| principal_buddha =
| important_buddha =
| important_buddha =
| pre_road =
| pre_road = เลขที่ 1620
| road_name =
| road_name = [[ถนนทรงวาด]]
| sub_district = แขวงสัมพันธวงศ์
| sub_district = [[แขวงสัมพันธวงศ์]]
| district = เขตสัมพันธวงศ์
| district = [[เขตสัมพันธวงศ์]]
| province = กรุงเทพมหานคร
| province = [[กรุงเทพมหานคร]]
| zip_code =
| zip_code = 10100
| tel_no =
| tel_no =
| pass_buses =
| pass_buses =
บรรทัด 35: บรรทัด 35:
}}
}}


'''วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร''' เป็น[[พระอารามหลวง]]ชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร<ref>[[ราชกิจจานุเบกษา]], [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2458/A/284.PDF ประกาศกระทรวงธรรมการ แผนกกรมสังฆการี เรื่อง จัดระเบียบพระอารามหลวง], เล่ม ๓๒, ตอน ๐ ก, ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๘, หน้า ๒๙๐</ref> ตั้งอยู่ริมฝั่ง[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ฝั่งพระนคร [[ถนนทรงวาด]]ติดต่อกับถนน[[สำเพ็ง]] แขวงสัมพันธวงศ์ [[เขตสัมพันธวงศ์]] [[กรุงเทพมหานคร]] เดิมชื่อวัดสำเพ็ง ตามชื่อถนนหน้าวัด ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 1 พระราชทานนามใหม่ว่า วัดปทุมคงคา”
'''วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร''' เป็น[[พระอารามหลวง]]ชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร<ref>[[ราชกิจจานุเบกษา]], [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2458/A/284.PDF ประกาศกระทรวงธรรมการ แผนกกรมสังฆการี เรื่อง จัดระเบียบพระอารามหลวง], เล่ม ๓๒, ตอน ๐ ก, ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๕๘, หน้า ๒๙๐</ref> ตั้งอยู่ริมฝั่ง[[แม่น้ำเจ้าพระยา]]ฝั่งพระนคร [[ถนนทรงวาด]]ติดต่อกับถนน[[สำเพ็ง]] แขวงสัมพันธวงศ์ [[เขตสัมพันธวงศ์]] [[กรุงเทพมหานคร]] เดิมชื่อ '''วัดสำเพ็ง''' ตามชื่อถนนหน้าวัด ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 1 พระราชทานนามใหม่ว่า "วัดปทุมคงคา"


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร เป็นวัดที่มีมาตั้งแต่สมัย[[อาณาจักรอยุธยา]] [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]เมื่อครั้งแรกสร้างกรุงรัตนโกสินทร์ โปรดเกล้าฯ ให้[[เจ้าพระยาศรีธรรมาธิราช (บุญรอด บุณยรัตพันธุ์)|พระยาธรรมาธิกรณ์ (บุญรอด บุณยรัตพันธ์)]] กับ[[พระวิจิตรนาวี]] เป็นแม่กองคุมช่างและไพร่ไปกะที่สร้างพระนครใหม่ ณ ฝั่งตะวันออก โปรดเกล้าฯ ให้พระยาราชาเศรษฐี และพวกคนจีน ย้ายไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่สวน ตั้งแต่คลองวัดสามปลื้ม ([[วัดจักรวรรดิราชาวาส]]) ไปจนถึงคลองวัดสำเพ็ง (วัดปทุมคงคา) และเห็นว่าเป็นวัดโบราณที่ทรุดโทรมมาก [[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท]]จึงได้โปรดเกล้า ฯ ให้ซ่อมแซมขึ้นใหม่ทั้งวัด เมื่อกรมพระราชวังบวรสุรมหาสิงหนาททรงปฏิสังขรณ์และสร้างเสร็จแล้ว พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช จึงพระราชทานนามใหม่ว่า วัดปทุมคงคา”
วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร เป็นวัดที่มีมาตั้งแต่สมัย[[อาณาจักรอยุธยา]] [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]เมื่อครั้งแรกสร้างกรุงรัตนโกสินทร์ โปรดเกล้าฯ ให้[[เจ้าพระยาศรีธรรมาธิราช (บุญรอด บุณยรัตพันธุ์)|พระยาธรรมาธิกรณ์ (บุญรอด บุณยรัตพันธ์)]] กับ[[พระวิจิตรนาวี]] เป็นแม่กองคุมช่างและไพร่ไปกะที่สร้างพระนครใหม่ ณ ฝั่งตะวันออก โปรดเกล้าฯ ให้พระยาราชาเศรษฐี และพวกคนจีน ย้ายไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่สวน ตั้งแต่คลองวัดสามปลื้ม ([[วัดจักรวรรดิราชาวาส]]) ไปจนถึงคลองวัดสำเพ็ง (วัดปทุมคงคา) และเห็นว่าเป็นวัดโบราณที่ทรุดโทรมมาก [[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท]]จึงได้โปรดเกล้าฯ ให้ซ่อมแซมขึ้นใหม่ทั้งวัด เมื่อกรมพระราชวังบวรสุรมหาสิงหนาททรงปฏิสังขรณ์และสร้างเสร็จแล้ว พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจึงพระราชทานนามใหม่ว่า "วัดปทุมคงคา"


จนในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ที่วัดเริ่มทรุดโทรมอีกครั้ง พระยาสวัสดิวารีได้กราบทูลขอทำการบูรณปฏิสังขรณ์ แต่บูรณปฏิสังขรณ์ยังไม่ทันเสร็จ พระยาสวัสดิวารีก็ได้ถึงแก่อนิจกรรมเสียก่อน แต่ไม่มีผู้ใดรับบูรณปฏิสังขรณ์ต่อไปตลอดรัชกาลที่ 3 ครั้งถึงสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระยาพิศาลศุภผล ทำการบูรณปฏิสังขรณ์ต่อ และได้เพิ่มเติม โดยให้ช่างยกพระพุทธรูปในพระอุโบสถให้สูงขึ้น มีพระทรงเครื่องต้นอย่างกษัตริย์ ต่อ[[ชุกชี]]ออกมา ทำเป็นรูปเทวราชถือพุ่มฉัตรดอกไม้ทอง ดอกไม้เงินด้วย 2 องค์<ref>[http://www.watpathumkongka.com/html/history.html ประวัติการสร้างวัด]</ref>
จนในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ที่วัดเริ่มทรุดโทรมอีกครั้ง พระยาสวัสดิวารีได้กราบทูลขอทำการบูรณปฏิสังขรณ์ แต่บูรณปฏิสังขรณ์ยังไม่ทันเสร็จ พระยาสวัสดิวารีก็ได้ถึงแก่อนิจกรรมเสียก่อน แต่ไม่มีผู้ใดรับบูรณปฏิสังขรณ์ต่อไปตลอดรัชกาลที่ 3 ครั้งถึงสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระยาพิศาลศุภผล ทำการบูรณปฏิสังขรณ์ต่อ และได้เพิ่มเติม โดยให้ช่างยกพระพุทธรูปในพระอุโบสถให้สูงขึ้น มีพระทรงเครื่องต้นอย่างกษัตริย์ ต่อ[[ชุกชี]]ออกมา ทำเป็นรูปเทวราชถือพุ่มฉัตรดอกไม้ทอง ดอกไม้เงินด้วย 2 องค์<ref>[http://www.watpathumkongka.com/html/history.html ประวัติการสร้างวัด]</ref>
บรรทัด 63: บรรทัด 63:


{{เขตสัมพันธวงศ์}}
{{เขตสัมพันธวงศ์}}
{{เรียงลำดับ|ปทุมคงคาราชวรวิหาร}}
[[หมวดหมู่:พระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร|ปทุมคงคาราชวรวิหาร]]
[[หมวดหมู่:พระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร]]
[[หมวดหมู่:วัดไทยในสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย|ปทุมคงคาราชวรวิหาร]]
[[หมวดหมู่:วัดไทยในสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย]]
[[หมวดหมู่:วัดในเขตสัมพันธวงศ์|ปทุมคงคาราชวรวิหาร]]
[[หมวดหมู่:วัดในเขตสัมพันธวงศ์]]
[[หมวดหมู่:โบราณสถานในกรุงเทพมหานคร]]
{{โครงวัดไทย}}
{{โครงวัดไทย}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:04, 18 กันยายน 2563

วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร
ไฟล์:โลโก้วัดปทุมคงคา.gif
แผนที่
ที่ตั้งเลขที่ 1620 ถนนทรงวาด แขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร 10100
ประเภทพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร
นิกายมหานิกาย
เจ้าอาวาสพระพรหมเสนาบดี (พิมพ์ ญาณวีโร)
เว็บไซต์http://www.watpathumkongka.org/home.php
พระพุทธศาสนา ส่วนหนึ่งของสารานุกรมพระพุทธศาสนา

วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร[1] ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งพระนคร ถนนทรงวาดติดต่อกับถนนสำเพ็ง แขวงสัมพันธวงศ์ เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร เดิมชื่อ วัดสำเพ็ง ตามชื่อถนนหน้าวัด ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 1 พระราชทานนามใหม่ว่า "วัดปทุมคงคา"

ประวัติ

วัดปทุมคงคาราชวรวิหาร เป็นวัดที่มีมาตั้งแต่สมัยอาณาจักรอยุธยา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเมื่อครั้งแรกสร้างกรุงรัตนโกสินทร์ โปรดเกล้าฯ ให้พระยาธรรมาธิกรณ์ (บุญรอด บุณยรัตพันธ์) กับพระวิจิตรนาวี เป็นแม่กองคุมช่างและไพร่ไปกะที่สร้างพระนครใหม่ ณ ฝั่งตะวันออก โปรดเกล้าฯ ให้พระยาราชาเศรษฐี และพวกคนจีน ย้ายไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่สวน ตั้งแต่คลองวัดสามปลื้ม (วัดจักรวรรดิราชาวาส) ไปจนถึงคลองวัดสำเพ็ง (วัดปทุมคงคา) และเห็นว่าเป็นวัดโบราณที่ทรุดโทรมมาก สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทจึงได้โปรดเกล้าฯ ให้ซ่อมแซมขึ้นใหม่ทั้งวัด เมื่อกรมพระราชวังบวรสุรมหาสิงหนาททรงปฏิสังขรณ์และสร้างเสร็จแล้ว พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชจึงพระราชทานนามใหม่ว่า "วัดปทุมคงคา"

จนในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่วัดเริ่มทรุดโทรมอีกครั้ง พระยาสวัสดิวารีได้กราบทูลขอทำการบูรณปฏิสังขรณ์ แต่บูรณปฏิสังขรณ์ยังไม่ทันเสร็จ พระยาสวัสดิวารีก็ได้ถึงแก่อนิจกรรมเสียก่อน แต่ไม่มีผู้ใดรับบูรณปฏิสังขรณ์ต่อไปตลอดรัชกาลที่ 3 ครั้งถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระยาพิศาลศุภผล ทำการบูรณปฏิสังขรณ์ต่อ และได้เพิ่มเติม โดยให้ช่างยกพระพุทธรูปในพระอุโบสถให้สูงขึ้น มีพระทรงเครื่องต้นอย่างกษัตริย์ ต่อชุกชีออกมา ทำเป็นรูปเทวราชถือพุ่มฉัตรดอกไม้ทอง ดอกไม้เงินด้วย 2 องค์[2]

วันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 ราชกิจจานุเบกษาได้เผยแพร่ประกาศกรมศิลปากรขึ้นทะเบียนและกำหนดให้เขตที่ดินวัดปทุมคงคาราชวรวิหารเป็นเขตที่ดินโบราณสถาน

ลำดับเจ้าอาวาส

  1. พระวิเชียรมุนี (มาก)
  2. สมเด็จพระพุฒาจารย์ (ศรี อโนมสิริ)
  3. พระครูกัลยาณคุณ (กลิ้ง)
  4. พระครูธรรมสารโสภณ (โชติ)
  5. พระปรากรมมุณี (เปลี่ยน)
  6. พระปรากรมมุณี (จีบ อุคฺคเตโช)
  7. พระเทพปริยัติบัณฑิต (ดำ อาภารํสี)
  8. พระวิสุทธิวงศาจารย์ (เสงี่ยม จนฺทสิริ) รักษาการ
  9. สมเด็จพระธีรญาณมุนี (สนิธ เขมจารี)
  10. พระพรหมเสนาบดี (พิมพ์ ญาณวีโร)

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น