ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไอแพดโอเอส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tree Lightbulb (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 48: บรรทัด 48:
คุณสมบัติส่วนมากของไอแพดโอเอสนั้นสามารถพบได้บนไอโอเอสได้เช่นกัน อย่างไรก็ตามไอแพดโอเอสนั้นจะมีคุณสมบัติที่ไม่สามารถพบได้บนไอโอเอส และอาจมีบางคุณสมบัติที่พบที่พบได้บนไอโอเอสอย่างเดียวเช่นกัน
คุณสมบัติส่วนมากของไอแพดโอเอสนั้นสามารถพบได้บนไอโอเอสได้เช่นกัน อย่างไรก็ตามไอแพดโอเอสนั้นจะมีคุณสมบัติที่ไม่สามารถพบได้บนไอโอเอส และอาจมีบางคุณสมบัติที่พบที่พบได้บนไอโอเอสอย่างเดียวเช่นกัน


=== หน้าจอหลัก ===
=== หน้่าจอหลัก ===
ไม่เหมือนกับรุ่นไอโอเอสก่อนหน้า ตารางไอคอนของไอแพดโอเอสจะสามารถแสดงไอคอนมากถึง 5 แถวและ 6 คอลัมน์ ไม่ว่าจะแสดงผลอยู่ในรูปแบบแนวตั้ง หรือแนวนนอนก็ตาม โดยหน้าแรกของหน้าจอหลักนั้นสามารถปรับแต่งให้แสดงถึงคอลัมน์ของวิดเจ็ดได้โดยง่าย โดยสามารถเข้าถึงการค้นหาโดย Spotlight ได้โดยการปัดลงจากหน้าจอหลัก หรือการกด Command + Space บนแป้นพิมพ์ที่ได้เชื่อมต่อ
ไม่เหมือนกับรุ่นไอโอเอสก่อนหน้า ตารางไอคอนของไอแพดโอเอสจะสามารถแสดงไอคอนมากถึง 5 แถวและ 6 คอลัมน์ ไม่ว่าจะแสดงผลอยู่ในรูปแบบแนวตั้ง หรือแนวนนอนก็ตาม โดยหน้าแรกของหน้าจอหลักนั้นสามารถปรับแต่งให้แสดงถึงคอลัมน์ของวิดเจ็ดได้โดยง่าย โดยสามารถเข้าถึงการค้นหาโดย Spotlight ได้โดยการปัดลงจากหน้าจอหลัก หรือการกด Command + Space บนแป้นพิมพ์ที่ได้เชื่อมต่อ


=== งานมัลติทาสก์ ===
=== งานมัลติทาสก์ ===


ไอแพดโอเอสนั้นมีระบบคุณสมบัติงานมัลติทาสก์ที่ถูกพัฒนาให้มีความสามารถที่เหนือกว่าไอโอเอส โดนมีคุณสมบัติเฉพาะเช่น Slide Over และ Split View ที่สามารถทำให้เปิดแอพพลิเคชั่นหลายแอพพลิเคชั่นได้พร้อมกัน
ไอแพดโอเอสนั้นมีระบบคุณสมบัติงานมัลติทาสก์ที่ถูกพัฒนาให้มีความสามารถที่เหนือกว่าไอโอเอส โดนมีคุณสมบัติเฉพาะเช่น Slide Over และ Split View ที่สามารถทำให้เปิดแอปพลิเคชันหลายแอปพลิเคชันได้พร้อมกัน


ในระหว่างการใช้งานแอพพลิเคชั่น การปัดนิ้วขึ้นจากขอบจอด้านล่างเล็กน้อยจะเป็นการเปิดใช้ Dock ซึ่งเป็รที่ที่สามารถใส่แอพพลิเคชั่นไว้ได้ และสามารถเลือกเปิดได้โดยการกดและลากไปยังพื้นที่ที่ต้องการจะเปิดซึ่งสามารถเปิดแอพพลิเคชั่นนั้นในรูปของ Split View หรือ Slide Over ได้ โดยการลากแอพพลิเคชั่นไปยังขอบซ้ายหรือขวาของหน้าจะจะเป็นการเลือกเปิดแบบ Split View ซึ่งจะสามารถใช้งานแอพพลิเคชั้นทั้งสองให้อยู่ข้างกัน และสามารถใช้งานพร้อมกันได้ โดยขนาดของแอพพลิเคชั่นทั้งสองที่เปิดนั้นสามารถปรับขนาดได้โดยการลากไอคอนรูปร่างคล้ายเม็ดยาที่บริเวณตรงกลางของส่วนแบ่งแอพพลิเคชั่น และลากเพื่อปรับขนาดที่ต้องการได้ หรือลากไปจนสุดของด้านใดด้านหนึ่งของหน้าจอนั้นจะเป็นการปิดแอพพลิคชั่นไปที่สุด แต่ถ้าผู้ใช้ลากแอพพลิเคชั่นไปยังพื้นที่ตรงกลางของแอพพลิเคชั่นที่เปิดอยู่แล้ว แอพพลิเคชั่นที่ลากมากนั้นจะเปิดอยู่มนรูปของหน้าต่างที่ลอยอยู่เรียกว่า Slide Over ซึ่งสามารถลากไปอยู่ที่บริเวณขวา หรือซ้ายของหน้าจอก็ได้ สามารถซ่อนหน้าต่าง Slide Over ได้โดยการปัดหน้าต่างนั้นไปยังขอบขวาสุดของหน้าจอ และสามาาถปัดไปทางซ้ายจากขอบหน้าจอขวาสุดของหน้าจอเพื่อเลิกซ่อนหน้าต่างได้ โดยสามารถเลือกเปิดแอพพลิเคชั่นที่เปิดในรูป Slide Over ก่อนหน้าได้โดยการปัดจากขอบของหน้าต่างทั้งฝั่งซ้ายและขวาเพื่อกลอกลับไปมาได้ หรือทำการปัดไอคอนรูปร่างคล้ายเม็ดยาที่บริเวณด้านล่างของหน้าจอ Slide Over เพื่อเปิดหน้าต่างเลือกแอพพลิเคชั่นที่เปิดในรูป Slide Over ก่อนหน้าได้ และการปัดไอคอนรูปร่างคล้ายเม็ดยาที่บริเวณด้านบนของหน้าต่างของแอพพลิเคชั่นที่เปิดในรูป Split View หรือ Slide Over จะสามารถใช้ในการสลับการเปิดแบบ Split View หรือ Slide Over ได้
ในระหว่างการใช้งานแอปพลิเคชัน การปัดนิ้วขึ้นจากขอบจอด้านล่างเล็กน้อยจะเป็นการเปิดใช้ Dock ซึ่งเป็รที่ที่สามารถใส่แอปพลิเคชันไว้ได้ และสามารถเลือกเปิดได้โดยการกดและลากไปยังพื้นที่ที่ต้องการจะเปิดซึ่งสามารถเปิดแอปพลิเคชันนั้นในรูปของ Split View หรือ Slide Over ได้ โดยการลากแอปพลิเคชันไปยังขอบซ้ายหรือขวาของหน้าจะจะเป็นการเลือกเปิดแบบ Split View ซึ่งจะสามารถใช้งานแอพพลิเคชั้นทั้งสองให้อยู่ข้างกัน และสามารถใช้งานพร้อมกันได้ โดยขนาดของแอปพลิเคชันทั้งสองที่เปิดนั้นสามารถปรับขนาดได้โดยการลากไอคอนรูปร่างคล้ายเม็ดยาที่บริเวณตรงกลางของส่วนแบ่งแอปพลิเคชัน และลากเพื่อปรับขนาดที่ต้องการได้ หรือลากไปจนสุดของด้านใดด้านหนึ่งของหน้าจอนั้นจะเป็นการปิดแอพพลิคชั่นไปที่สุด แต่ถ้าผู้ใช้ลากแอปพลิเคชันไปยังพื้นที่ตรงกลางของแอปพลิเคชันที่เปิดอยู่แล้ว แอปพลิเคชันที่ลากมากนั้นจะเปิดอยู่มนรูปของหน้าต่างที่ลอยอยู่เรียกว่า Slide Over ซึ่งสามารถลากไปอยู่ที่บริเวณขวา หรือซ้ายของหน้าจอก็ได้ สามารถซ่อนหน้าต่าง Slide Over ได้โดยการปัดหน้าต่างนั้นไปยังขอบขวาสุดของหน้าจอ และสามาาถปัดไปทางซ้ายจากขอบหน้าจอขวาสุดของหน้าจอเพื่อเลิกซ่อนหน้าต่างได้ โดยสามารถเลือกเปิดแอปพลิเคชันที่เปิดในรูป Slide Over ก่อนหน้าได้โดยการปัดจากขอบของหน้าต่างทั้งฝั่งซ้ายและขวาเพื่อกลอกลับไปมาได้ หรือทำการปัดไอคอนรูปร่างคล้ายเม็ดยาที่บริเวณด้านล่างของหน้าจอ Slide Over เพื่อเปิดหน้าต่างเลือกแอปพลิเคชันที่เปิดในรูป Slide Over ก่อนหน้าได้ และการปัดไอคอนรูปร่างคล้ายเม็ดยาที่บริเวณด้านบนของหน้าต่างของแอปพลิเคชันที่เปิดในรูป Split View หรือ Slide Over จะสามารถใช้ในการสลับการเปิดแบบ Split View หรือ Slide Over ได้


ในหลายแอพพลิเคชั่น วิดิโอที่เปิดอยู่สามารถย่อไปเป็นหน้าต่างรูปภาพข้างในรูปภาพ (picture-in-picture) ได้ ซึ่งจะสามารถทำให้ผู้ใช้สามารถรับชมวิดิโอในขณะที่ทำสิ่งต่างๆ นอกเหนือแอพพลิเคชั่นวิดิโอนั้นนั้นได้ ซึ่งสามารถเลือกที่จะซ่อนหน้าต่างนี้ได้โดยการปัดหน้าต่างไปยังขอบของหน้าจอ และหน้าต่างนั้นจะแสดงเครื่องหมายลูกศรที่ขอบของหน้าต่าง ซึ่งการปัดกลับมาจะทำให้หน้าต่างกลับมาแสดงผลบนหน้าจออีกครั้ง
ในหลายแอปพลิเคชัน วิดิโอที่เปิดอยู่สามารถย่อไปเป็นหน้าต่างรูปภาพข้างในรูปภาพ (picture-in-picture) ได้ ซึ่งจะสามารถทำให้ผู้ใช้สามารถรับชมวิดิโอในขณะที่ทำสิ่งต่างๆ นอกเหนือแอปพลิเคชันวิดิโอนั้นนั้นได้ ซึ่งสามารถเลือกที่จะซ่อนหน้าต่างนี้ได้โดยการปัดหน้าต่างไปยังขอบของหน้าจอ และหน้าต่างนั้นจะแสดงเครื่องหมายลูกศรที่ขอบของหน้าต่าง ซึ่งการปัดกลับมาจะทำให้หน้าต่างกลับมาแสดงผลบนหน้าจออีกครั้ง


=== Sidecar ===
=== Sidecar ===
Sidecar นั้นจะสามารถทำให้ไอแพดนั้นเป็นหน้าจอแสดงผลที่สองสำหรับอุปกรณ์[[macOS|แม็ค]] ซึ่งในระหว่างการใช้งาน Sidecar สามารถใช้ [[Apple Pencil]] ในการวาดลงไปบนไอแพดได้คล้ายกับใช้งานกราฟฟิคแท็บเล็ตสำหรับแอพพลิเคชั่นเช่น [[Adobe Photoshop|Photoshop]]<ref>{{Cite web|url=https://www.theverge.com/2019/6/3/18651017/apple-ipad-pro-pencil-sidecar-wwdc-2019|title=Sidecar lets you use your iPad as a second display for your Mac|last=Lee|first=Dami|date=June 3, 2019|website=[[The Verge]]|archive-url=https://web.archive.org/web/20190711150404/https://www.theverge.com/2019/6/3/18651017/apple-ipad-pro-pencil-sidecar-wwdc-2019|archive-date=July 11, 2019|url-status=live|access-date=July 15, 2019}}</ref> โดยคุณสมบัตินี้จะรองรับบนไอแพดที่รองรับการใช้งานร่วมกับ Apple Pencil เท่านั้น
Sidecar นั้นจะสามารถทำให้ไอแพดนั้นเป็นหน้าจอแสดงผลที่สองสำหรับอุปกรณ์[[macOS|แม็ค]] ซึ่งในระหว่างการใช้งาน Sidecar สามารถใช้ [[Apple Pencil]] ในการวาดลงไปบนไอแพดได้คล้ายกับใช้งานกราฟิกแท็บเล็ตสำหรับแอปพลิเคชันเช่น [[Adobe Photoshop|Photoshop]]<ref>{{Cite web|url=https://www.theverge.com/2019/6/3/18651017/apple-ipad-pro-pencil-sidecar-wwdc-2019|title=Sidecar lets you use your iPad as a second display for your Mac|last=Lee|first=Dami|date=June 3, 2019|website=[[The Verge]]|archive-url=https://web.archive.org/web/20190711150404/https://www.theverge.com/2019/6/3/18651017/apple-ipad-pro-pencil-sidecar-wwdc-2019|archive-date=July 11, 2019|url-status=live|access-date=July 15, 2019}}</ref> โดยคุณสมบัตินี้จะรองรับบนไอแพดที่รองรับการใช้งานร่วมกับ Apple Pencil เท่านั้น


=== การรองรับเมาส์หรือแทร็คแพด ===
=== การรองรับเมาส์หรือแทร็คแพด ===
โดยคุณลักษณะการรองรับเมาส์หรือแทร็คแพดนั้นถูกเพิ่มเข้ามาในเวอร์ชั่น 13.4<ref>{{Cite web|url=https://www.theverge.com/circuitbreaker/2020/3/18/21184933/ipados-13-4-mouse-trackpad-support-ipad-apple-computer-date|title=iPadOS 13.4 adds full mouse and trackpad support|last=Gartenberg|first=Chaim|date=March 18, 2020|website=The Verge|access-date=March 18, 2020}}</ref>
โดยคุณลักษณะการรองรับเมาส์หรือแทร็คแพดนั้นถูกเพิ่มเข้ามาในเวอร์ชัน 13.4<ref>{{Cite web|url=https://www.theverge.com/circuitbreaker/2020/3/18/21184933/ipados-13-4-mouse-trackpad-support-ipad-apple-computer-date|title=iPadOS 13.4 adds full mouse and trackpad support|last=Gartenberg|first=Chaim|date=March 18, 2020|website=The Verge|access-date=March 18, 2020}}</ref>


=== Scribble ===
=== Scribble ===
บรรทัด 85: บรรทัด 85:
|23 มิถุนายน 2563
|23 มิถุนายน 2563
|
|
|การอัพเดทหลักของ iPadOS ครั้งแรก
|การอัปเดตหลักของ iPadOS ครั้งแรก
|-
|-
|}
|}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:57, 26 กรกฎาคม 2563

iPadOS
ไฟล์:IPadOS 13 Screenshot.png
ผู้พัฒนาApple Inc.
เขียนด้วยC, C++, Objective-C, Swift
ตระกูลUnix-like, based on Darwin (BSD), iOS
สถานะCurrent
รูปแบบ
รหัสต้นฉบับ
Closed source
วันที่เปิดตัว24 กันยายน 2019; 4 ปีก่อน (2019-09-24)[1]
ภาษาสื่อสาร40 languages[2][3][4][5]
วิธีการอัปเดตOTA, Software Update, App Store
แพลตฟอร์ม
ที่รองรับ
ชนิดเคอร์เนลHybrid (XNU)
ส่วนติดต่อผู้ใช้ปริยายCocoa Touch (multi-touch, GUI)
สัญญาอนุญาตProprietary software ยกเว้นส่วนประกอบที่เป็น open-source
รุ่นก่อนหน้าiOS 12
เว็บไซต์www.apple.com/ipados/

ไอแพดโอเอส (อังกฤษ: iPadOS) เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับอุปกรณ์พกพาที่พัฒนาโดยแอปเปิลสำหรับใช้กับไอแพดซึ่งเป็นแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ของแอปเปิลเอง ซึ่งพัฒนาแยกมาจากไอโอเอส[6] โดยเปิดตัวครั้งแรกเมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2562 ซึ่งในตัวนี้ จะใช้ฐานเดียวกันกับ iOS แต่จะถูกปรับปรุง ให้สามารถทำงานในรูปแบบไอแพตได้อย่างสมบูรณ์ อาทิ ระบบ Multitasking , Apple Pencil , การเชื่อมต่อกับเมาส์หรือแทร็คแพดและคีย์บอร์ดเป็นต้น

คุณสมบัติต่างๆ

คุณสมบัติส่วนมากของไอแพดโอเอสนั้นสามารถพบได้บนไอโอเอสได้เช่นกัน อย่างไรก็ตามไอแพดโอเอสนั้นจะมีคุณสมบัติที่ไม่สามารถพบได้บนไอโอเอส และอาจมีบางคุณสมบัติที่พบที่พบได้บนไอโอเอสอย่างเดียวเช่นกัน

หน้าจอหลัก

ไม่เหมือนกับรุ่นไอโอเอสก่อนหน้า ตารางไอคอนของไอแพดโอเอสจะสามารถแสดงไอคอนมากถึง 5 แถวและ 6 คอลัมน์ ไม่ว่าจะแสดงผลอยู่ในรูปแบบแนวตั้ง หรือแนวนนอนก็ตาม โดยหน้าแรกของหน้าจอหลักนั้นสามารถปรับแต่งให้แสดงถึงคอลัมน์ของวิดเจ็ดได้โดยง่าย โดยสามารถเข้าถึงการค้นหาโดย Spotlight ได้โดยการปัดลงจากหน้าจอหลัก หรือการกด Command + Space บนแป้นพิมพ์ที่ได้เชื่อมต่อ

งานมัลติทาสก์

ไอแพดโอเอสนั้นมีระบบคุณสมบัติงานมัลติทาสก์ที่ถูกพัฒนาให้มีความสามารถที่เหนือกว่าไอโอเอส โดนมีคุณสมบัติเฉพาะเช่น Slide Over และ Split View ที่สามารถทำให้เปิดแอปพลิเคชันหลายแอปพลิเคชันได้พร้อมกัน

ในระหว่างการใช้งานแอปพลิเคชัน การปัดนิ้วขึ้นจากขอบจอด้านล่างเล็กน้อยจะเป็นการเปิดใช้ Dock ซึ่งเป็รที่ที่สามารถใส่แอปพลิเคชันไว้ได้ และสามารถเลือกเปิดได้โดยการกดและลากไปยังพื้นที่ที่ต้องการจะเปิดซึ่งสามารถเปิดแอปพลิเคชันนั้นในรูปของ Split View หรือ Slide Over ได้ โดยการลากแอปพลิเคชันไปยังขอบซ้ายหรือขวาของหน้าจะจะเป็นการเลือกเปิดแบบ Split View ซึ่งจะสามารถใช้งานแอพพลิเคชั้นทั้งสองให้อยู่ข้างกัน และสามารถใช้งานพร้อมกันได้ โดยขนาดของแอปพลิเคชันทั้งสองที่เปิดนั้นสามารถปรับขนาดได้โดยการลากไอคอนรูปร่างคล้ายเม็ดยาที่บริเวณตรงกลางของส่วนแบ่งแอปพลิเคชัน และลากเพื่อปรับขนาดที่ต้องการได้ หรือลากไปจนสุดของด้านใดด้านหนึ่งของหน้าจอนั้นจะเป็นการปิดแอพพลิคชั่นไปที่สุด แต่ถ้าผู้ใช้ลากแอปพลิเคชันไปยังพื้นที่ตรงกลางของแอปพลิเคชันที่เปิดอยู่แล้ว แอปพลิเคชันที่ลากมากนั้นจะเปิดอยู่มนรูปของหน้าต่างที่ลอยอยู่เรียกว่า Slide Over ซึ่งสามารถลากไปอยู่ที่บริเวณขวา หรือซ้ายของหน้าจอก็ได้ สามารถซ่อนหน้าต่าง Slide Over ได้โดยการปัดหน้าต่างนั้นไปยังขอบขวาสุดของหน้าจอ และสามาาถปัดไปทางซ้ายจากขอบหน้าจอขวาสุดของหน้าจอเพื่อเลิกซ่อนหน้าต่างได้ โดยสามารถเลือกเปิดแอปพลิเคชันที่เปิดในรูป Slide Over ก่อนหน้าได้โดยการปัดจากขอบของหน้าต่างทั้งฝั่งซ้ายและขวาเพื่อกลอกลับไปมาได้ หรือทำการปัดไอคอนรูปร่างคล้ายเม็ดยาที่บริเวณด้านล่างของหน้าจอ Slide Over เพื่อเปิดหน้าต่างเลือกแอปพลิเคชันที่เปิดในรูป Slide Over ก่อนหน้าได้ และการปัดไอคอนรูปร่างคล้ายเม็ดยาที่บริเวณด้านบนของหน้าต่างของแอปพลิเคชันที่เปิดในรูป Split View หรือ Slide Over จะสามารถใช้ในการสลับการเปิดแบบ Split View หรือ Slide Over ได้

ในหลายแอปพลิเคชัน วิดิโอที่เปิดอยู่สามารถย่อไปเป็นหน้าต่างรูปภาพข้างในรูปภาพ (picture-in-picture) ได้ ซึ่งจะสามารถทำให้ผู้ใช้สามารถรับชมวิดิโอในขณะที่ทำสิ่งต่างๆ นอกเหนือแอปพลิเคชันวิดิโอนั้นนั้นได้ ซึ่งสามารถเลือกที่จะซ่อนหน้าต่างนี้ได้โดยการปัดหน้าต่างไปยังขอบของหน้าจอ และหน้าต่างนั้นจะแสดงเครื่องหมายลูกศรที่ขอบของหน้าต่าง ซึ่งการปัดกลับมาจะทำให้หน้าต่างกลับมาแสดงผลบนหน้าจออีกครั้ง

Sidecar

Sidecar นั้นจะสามารถทำให้ไอแพดนั้นเป็นหน้าจอแสดงผลที่สองสำหรับอุปกรณ์แม็ค ซึ่งในระหว่างการใช้งาน Sidecar สามารถใช้ Apple Pencil ในการวาดลงไปบนไอแพดได้คล้ายกับใช้งานกราฟิกแท็บเล็ตสำหรับแอปพลิเคชันเช่น Photoshop[7] โดยคุณสมบัตินี้จะรองรับบนไอแพดที่รองรับการใช้งานร่วมกับ Apple Pencil เท่านั้น

การรองรับเมาส์หรือแทร็คแพด

โดยคุณลักษณะการรองรับเมาส์หรือแทร็คแพดนั้นถูกเพิ่มเข้ามาในเวอร์ชัน 13.4[8]

Scribble

คุณสมบัตินี้ถูกเปิดเผยครั้งแรกในไอแพดโอเอส 14 ซึ่ง Scribble จะเป็นการเปลี่ยนข้อความที่เขียนด้วยลายมือโดยการใช้ Apple Pencil ไปเป็นข้อความไปยังช่องข้อความใดๆ ทั่วทั้งระบบ[9] ซึ่งจะรองรับภาษาอังกฤษ และภาษาจีนเท่านั้น


ประวัติของเวอร์ชันต่างๆ

เนื่องด้วย iPadOS 13 จะออกด้วยเวอร์ชัน 13.1 ไม่มีการใช้เวอร์ชัน 13.0 เนื่องจาก iOS 13.0 จะทำเฉพาะรุ่นของไอโฟนเท่านั้น โดยไม่ออก iPadOS ไปพร้อมๆกัน

รุ่น เปิดตัวครั้งแรก วันที่ปล่อยอัปเดต รายละเอียดหลัก
13.1 - 13.X 4 มิถุนายน 2562 24 กันยายน 2562 รุ่นแรกที่นำเอา iPadOS แยกมาจาก iOS
14 23 มิถุนายน 2563 การอัปเดตหลักของ iPadOS ครั้งแรก

อ้างอิง

  1. "iPadOS". Apple Inc.
  2. "Apple – iPad Pro – Specs". Apple Inc. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 4, 2019. สืบค้นเมื่อ January 4, 2019.
  3. "Apple – iPad mini 4 – Specs". Apple Inc. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 24, 2015. สืบค้นเมื่อ October 24, 2015.
  4. "Apple – iPad Air 2 – Technical Specifications". Apple Inc. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 26, 2015. สืบค้นเมื่อ October 24, 2015.
  5. "Apple – iPhone XS – Technical Specifications". Apple Inc. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 4, 2019. สืบค้นเมื่อ January 4, 2019.
  6. Wuerthele, Mike (June 3, 2019). "Apple unveils iPadOS, adding features specifically to iPad". AppleInsider. สืบค้นเมื่อ June 3, 2019.
  7. Lee, Dami (June 3, 2019). "Sidecar lets you use your iPad as a second display for your Mac". The Verge. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ July 11, 2019. สืบค้นเมื่อ July 15, 2019.
  8. Gartenberg, Chaim (March 18, 2020). "iPadOS 13.4 adds full mouse and trackpad support". The Verge. สืบค้นเมื่อ March 18, 2020.
  9. "iPadOS 14 introduces new features designed specifically for iPad". Apple Newsroom. สืบค้นเมื่อ July 16, 2020.