ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอโมจิ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8947936 โดย 2001:44C8:4304:A7EC:1:2:916:F95A: ย้อนการก่อกวนด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Noto Emoji KitKat 263a.svg|thumb|180px|เอโมจิรูปหนึ่ง ประดิษฐ์โดยโครงการ[[ฟอนต์โนโต|โนโต]]]]
[[ไฟล์:Noto Emoji KitKat 263a.svg|thumb|180px|เอโมจิรูปหนึ่ง ประดิษฐ์โดยโครงการ[[ฟอนต์โนโต|โนโต]]]]
'''อีโมจิ''' ({{lang-ja|{{ruby-ja|絵文字|えもじ}}}}) หรือ '''อิโมจี''' ({{lang-en|emoji}})<ref>{{cite web|url=http://dictionary.cambridge.org/dictionary/english/emoji|title=emoji Meaning in the Cambridge English Dictionary|publisher=|accessdate=March 30, 2017}}</ref> คือ[[ตัวหนังสือความคิด]]และ[[สไมลีย์]]ที่ใช้กันในข้อความอิเล็กทรอนิกส์และ[[เว็บเพจ]] เอโมจิปรากฏในหลายรูปแบบ เช่น การแสดงสีหน้าและกิริยาอาการ วัตถุ สถานที่ ลมฟ้าอากาศ สัตว์ เป็นต้น อีโมจิมีลักษณะเหมือน[[สัญรูปอารมณ์]]มาก แต่มาจากรูปภาพจริงแทนที่จะมาจากตัวอักษร ตัวเลข หรือเครื่องหมายวรรคตอนประสมกันอย่างสัญรูปอารมณ์<ref>{{cite news |url=https://www.theguardian.com/technology/2015/feb/06/difference-between-emoji-and-emoticons-explained |title=Don't know the difference between emoji and emoticons? Let me explain |first=Alex |last=Hern |date=February 6, 2015 |work=[[The Guardian]]}}</ref> เดิมคำ ''เอโมจิ'' มีความหมายว่า [[ตัวหนังสือภาพ]] โดยมาจากคำ ''เอะ'' ({{lang|ja|絵}}, "ภาพ") ประสมกับคำ ''โมจิ'' ({{lang|ja|文字}}, "ตัวหนังสือ") ความคล้ายคลึงระหว่างรูปอักษรโรมันของคำนี้ (คือ {{lang|ja|''emoji''}}) กับคำ {{lang|en|''emotion''}} และ {{lang|en|''emoticon''}} ในภาษาอังกฤษเป็นเรื่องบังเอิญเท่านั้น<ref>{{cite web |url=https://books.google.com/books?id=VPO4CgAAQBAJ|title=New Words for Old: Recycling Our Language for the Modern World |first=Caroline |last=Taggart |date=November 5, 2015 |publisher=Michael O'Mara Books |via=Google Books |quote=Hard on the heels of the emoticon comes the Japanese-born ''emoji'', also a <u>DIGITAL</u> icon used to express emotion, but more sophisticated in terms of imagery than those that are created by pressing a colon followed by a parenthesis. ''Emoji'' is made up of the Japanese for ''picture'' (''e'') and ''character'' (''moji''), so its resemblance to emotion and emoticon is a particularly happy coincidence. |access-date=October 25, 2017}}</ref>
'''อีโมจิ''' () หรือ '''อิโมจี''' () คือตัวหนังสือความคิดและสไมลีย์ที่ใช้กันในข้อความอิเล็กทรอนิกส์และเว็บเพจ เอโมจิปรากฏในหลายรูปแบบ เช่น การแสดงสีหน้าและกิริยาอาการ วัตถุ สถานที่ ลมฟ้าอากาศ สัตว์ เป็นต้น อีโมจิมีลักษณะเหมือนสัญรูปอารมณ์มาก แต่มาจากรูปภาพจริงแทนที่จะมาจากตัวอักษร ตัวเลข หรือเครื่องหมายวรรคตอนประสมกันอย่างสัญรูปอารมณ์ เดิมคำ ''เอโมจิ'' มีความหมายว่า ตัวหนังสือภาพ โดยมาจากคำ ''เอะ'' ({{lang|ja|絵}}, "ภาพ") ประสมกับคำ ''โมจิ'' ({{lang|ja|文字}}, "ตัวหนังสือ") ความคล้ายคลึงระหว่างรูปอักษรโรมันของคำนี้ (คือ {{lang|ja|''emoji''}}) กับคำ {{lang|en|''emotion''}} และ {{lang|en|''emoticon''}} ในภาษาอังกฤษเป็นเรื่องบังเอิญเท่านั้น


เอโมจิมีต้นกำเนิดมาจากโทรศัพท์เคลื่อนที่ของญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2542 โดยนายชิเกตากะ คูริตะ ผู้มีอาชีพนักออกแบบของบริษัทผู้ให้บริการโทรศัพท์แห่งหนึ่งในญี่ปุ่นเพื่อช่วยให้การสื่อสารทางโทรศัพท์เคลื่อนที่นั้นง่ายขึ้น ในครั้งนั้นเขาได้คิดค้นเอโมจิรวมทั้งหมด 176 แบบ<ref>"[https://roonnhaidee.com/blog/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87-emoji-%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%87/ วิธีสร้าง emoji ส่วนตัวไว้ใช้เอง บนมือถือและคอมพิวเตอร์" เว็บไซต์ รุ่นไหนดี Roonnhaidee] </ref>
เอโมจิมีต้นกำเนิดมาจากโทรศัพท์เคลื่อนที่ของญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2542 โดยนายชิเกตากะ คูริตะ ผู้มีอาชีพนักออกแบบของบริษัทผู้ให้บริการโทรศัพท์แห่งหนึ่งในญี่ปุ่นเพื่อช่วยให้การสื่อสารทางโทรศัพท์เคลื่อนที่นั้นง่ายขึ้น ในครั้งนั้นเขาได้คิดค้นเอโมจิรวมทั้งหมด 176 แบบ


ในคริสต์ทศวรรษ 2010 อีโมจิได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นทั่วโลกหลังจากที่มีการเพิ่มเอโมจิเข้าไปใน[[ระบบปฏิบัติการสำหรับอุปกรณ์พกพา|ระบบปฏิบัติการสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่]]หลายระบบ<ref name=":0">{{cite web |last=Blagdon |first=Jeff |title=How emoji conquered the world |url=https://www.theverge.com/2013/3/4/3966140/how-emoji-conquered-the-world |work=The Verge |publisher=Vox Media |accessdate=November 6, 2013 |date=March 4, 2013}}</ref><ref>{{cite web|title=Smile, You're Speaking EMOJI: The fast evolution of a wordless tongue|date=November 16, 2014|url=http://nymag.com/daily/intelligencer/2014/11/emojis-rapid-evolution.html|author=Adam Sternbergh|publisher=[[New York (magazine)|New York]]}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.android.com/versions/kit-kat-4-4/|title=Android – 4.4 KitKat|work=android.com}}</ref> ปัจจุบันถือว่าเอโมจิเป็นส่วนหนึ่งของ[[วัฒนธรรมประชานิยม]]ในโลกตะวันตก<ref>{{cite news |url=https://www.nbcnews.com/video/how-emojis-took-center-stage-in-american-pop-culture-1001844803597 |title=How Emojis took center stage in American pop culture |date=July 17, 2017 |work=NBC News}}</ref> ในปี พ.ศ. 2558 ''[[ออกซฟอร์ดดิกชันนารีส์]]'' ประกาศให้เอโมจิรูปใบหน้ากับน้ำตาแห่งความยินดี (Face with Tears of Joy emoji) เป็นคำแห่งปี<ref>{{cite web| url=https://www.pbs.org/newshour/rundown/oxford-dictionary-says-the-2015-word-of-the-year-is-an-emoji/| title=Oxford Dictionaries 2015 Word of the Year is an Emoji| date=November 17, 2015| publisher=PBS Newshour| access-date=August 23, 2017}}</ref>
ในคริสต์ทศวรรษ 2010 อีโมจิได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นทั่วโลกหลังจากที่มีการเพิ่มเอโมจิเข้าไปในระบบปฏิบัติการสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่หลายระบบ ปัจจุบันถือว่าเอโมจิเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมประชานิยมในโลกตะวันตก ในปี พ.ศ. 2558 ''[[ออกซฟอร์ดดิกชันนารีส์]]'' ประกาศให้เอโมจิรูปใบหน้ากับน้ำตาแห่งความยินดี (Face with Tears of Joy emoji) เป็นคำแห่งปี


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:32, 24 กรกฎาคม 2563

เอโมจิรูปหนึ่ง ประดิษฐ์โดยโครงการโนโต

อีโมจิ () หรือ อิโมจี () คือตัวหนังสือความคิดและสไมลีย์ที่ใช้กันในข้อความอิเล็กทรอนิกส์และเว็บเพจ เอโมจิปรากฏในหลายรูปแบบ เช่น การแสดงสีหน้าและกิริยาอาการ วัตถุ สถานที่ ลมฟ้าอากาศ สัตว์ เป็นต้น อีโมจิมีลักษณะเหมือนสัญรูปอารมณ์มาก แต่มาจากรูปภาพจริงแทนที่จะมาจากตัวอักษร ตัวเลข หรือเครื่องหมายวรรคตอนประสมกันอย่างสัญรูปอารมณ์ เดิมคำ เอโมจิ มีความหมายว่า ตัวหนังสือภาพ โดยมาจากคำ เอะ (, "ภาพ") ประสมกับคำ โมจิ (文字, "ตัวหนังสือ") ความคล้ายคลึงระหว่างรูปอักษรโรมันของคำนี้ (คือ [emoji] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) กับคำ [emotion] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) และ [emoticon] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ) ในภาษาอังกฤษเป็นเรื่องบังเอิญเท่านั้น

เอโมจิมีต้นกำเนิดมาจากโทรศัพท์เคลื่อนที่ของญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2542 โดยนายชิเกตากะ คูริตะ ผู้มีอาชีพนักออกแบบของบริษัทผู้ให้บริการโทรศัพท์แห่งหนึ่งในญี่ปุ่นเพื่อช่วยให้การสื่อสารทางโทรศัพท์เคลื่อนที่นั้นง่ายขึ้น ในครั้งนั้นเขาได้คิดค้นเอโมจิรวมทั้งหมด 176 แบบ

ในคริสต์ทศวรรษ 2010 อีโมจิได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นทั่วโลกหลังจากที่มีการเพิ่มเอโมจิเข้าไปในระบบปฏิบัติการสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่หลายระบบ ปัจจุบันถือว่าเอโมจิเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมประชานิยมในโลกตะวันตก ในปี พ.ศ. 2558 ออกซฟอร์ดดิกชันนารีส์ ประกาศให้เอโมจิรูปใบหน้ากับน้ำตาแห่งความยินดี (Face with Tears of Joy emoji) เป็นคำแห่งปี

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น