ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เคทีเอ็ม อีทีเอส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Oakkharaphop (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
| map =
| map =
}}
}}
'''เคทีเอ็ม อีทีเอส''' ({{ภาษาอังกฤษ|KTM Electric Train Service (ETS)}} เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าระหว่างเมือง[[Padang Besar]]–[[Butterworth]]-[[กัวลาลัมเปอร์]]- [[Gemas]] ใน[[ประเทศมาเลเซีย]]<ref>{{cite news |url=http://biz.thestar.com.my/news/story.asp?file=/2010/7/21/business/6702755&sec=business |title= KL-Ipoh electric train to run soon |publisher=The Star |date=17 December 2010}}</ref> เดิมรถไฟฟ้าสายนี้เคยวิ่งจากกัวลาลัมเปอร์ไป[[เซอเริมบัน]] แต่หยุดให้บริการในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2012<ref>{{cite web |url=http://www.ktmintercity.com.my/index.php/en/85-berita-terkini/99-penjadualan-terbaharu-perkhidmatan-ets |title= Recent scheduling ETS Services |publisher=KTM Intercity |accessdate=18 November 2012}}</ref> รถไฟฟ้ามีความเร็ว 140 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ดำเนินการโดยอีทีเอส ภายใต้การควบคุมของ[[เกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายู]] (เคทีเอ็ม)
'''เคทีเอ็ม อีทีเอส''' ({{ภาษาอังกฤษ|KTM Electric Train Service (ETS)}} เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าระหว่างเมือง [[สถานีรถไฟปาดังเบซาร์]] [[รัฐปะลิส]] [[สถานีรถไฟเกอมัส]] [[รัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน]] และ [[สถานีรถไฟเคแอลเซ็นทรัล]]- [[สถานีรถไฟเกอมัส]] [[รัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน]] [[ประเทศมาเลเซีย]]<ref>{{cite news |url=http://biz.thestar.com.my/news/story.asp?file=/2010/7/21/business/6702755&sec=business |title= KL-Ipoh electric train to run soon |publisher=The Star |date=17 December 2010}}</ref> เดิมรถไฟฟ้าสายนี้เคยวิ่งจากกัวลาลัมเปอร์ไป[[เซอเริมบัน]] แต่หยุดให้บริการในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2012<ref>{{cite web |url=http://www.ktmintercity.com.my/index.php/en/85-berita-terkini/99-penjadualan-terbaharu-perkhidmatan-ets |title= Recent scheduling ETS Services |publisher=KTM Intercity |accessdate=18 November 2012}}</ref> รถไฟฟ้ามีความเร็ว 140 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ดำเนินการโดยอีทีเอส ภายใต้การควบคุมของ[[การรถไฟมาลายา]] (KTMB)


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
[[เกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายู]] เปิดให้บริการรถไฟฟ้าสายนี้ในวันที่ 12 สิงหาคม ค.ศ. 2010 โดยเป็นเส้นหนึ่งของทางรถไฟ[[สายชายฝั่งทะเลตะวันตก (ประเทศมาเลเซีย)|สายชายฝั่งทะเลตะวันตก]]<ref>{{cite news | url = http://www.railwaygazette.com/nc/news/single-view/view/malaysia-plans-five-years-of-rail-growth.html | work = Railway Gazette International | title = Malaysia plans five years of rail growth | location = London | date = 1 October 2006 }}</ref>
[[การรถไฟมาลายา]] เปิดให้บริการรถไฟฟ้าสายนี้ในวันที่ 12 สิงหาคม ค.ศ. 2010 โดยเป็นเส้นหนึ่งของทางรถไฟ[[สายชายฝั่งทะเลตะวันตก (ประเทศมาเลเซีย)|สายชายฝั่งทะเลตะวันตก]]<ref>{{cite news | url = http://www.railwaygazette.com/nc/news/single-view/view/malaysia-plans-five-years-of-rail-growth.html | work = Railway Gazette International | title = Malaysia plans five years of rail growth | location = London | date = 1 October 2006 }}</ref>


== การให้บริการ==
== การให้บริการ==
บรรทัด 35: บรรทัด 35:
ซิลเวอร์จะเดินทางแค่ KL SENTRAL-IPOH-KL SENTRAL
ซิลเวอร์จะเดินทางแค่ KL SENTRAL-IPOH-KL SENTRAL
โกลด์และแพตินัมจะเป็นรถที่เดินทางระหว่าง GEMAS-BUTTERWORTH-PADNG BESAR โดยที่โกลด์จะจอดมากกว่า
โกลด์และแพตินัมจะเป็นรถที่เดินทางระหว่าง GEMAS-BUTTERWORTH-PADNG BESAR โดยที่โกลด์จะจอดมากกว่า

{| class="wikitable"
|-
! ประเภทขบวนรถ !! ชนิดรถ !! เส้นทาง
|-
| ETS Platinum || Class 93 || Butterworth - KL Sentral <br> Padang Besar - KL Sentral
|-
| ETS Gold || Class 93 || Butterworth - Gemas <br> Butterworth - KL Sentral <br> Padang Besar - Gemas <br> Padang Besar - KL Sentral
|-
| ETS Silver || Class 91 || Ipoh - KL Sentral
|}

=== ชั้นโดยสาร===
=== ชั้นโดยสาร===
ชั้นโดยสารมีด้วยกัน2แบบ<br>
ชั้นโดยสารมีด้วยกัน2แบบ<br>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:32, 8 กรกฎาคม 2563

รถไฟฟ้าเคทีเอ็ม อีทีเอส
KTM Electric Train Service
 อีทีเอส 
การรถไฟมาลายา
KTM คลาส 93 ที่สถานี Pulau Sebang/Tampin
ข้อมูลทั่วไป
เจ้าของเกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายู
จำนวนสถานี37 สถานี (ข้อมูลเมื่อปี 2562)
เว็บไซต์www.ktmb.com.my/ktmb_ui
การดำเนินงาน
รูปแบบรถไฟฟ้าระหว่างเมือง
ขบวนรถ5 ขบวน KTM คลาส 91
10 ขบวน KTM คลาส 93
ผู้โดยสารต่อวัน10,489 (สถิติเมื่อปี 2561)[1]
ผู้โดยสาร4.148 ล้านคน (2560) [1]
ประวัติ
เปิดเมื่อ12 สิงหาคม 2010; 13 ปีก่อน (2010-08-12)
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง
755 กม. (Padang Besar-Gemas)
'กำลังก่อสร้างอีก 197 กม. (Gemas-Johor Bahru Sentral)
รางกว้าง1000 มิลลิเมตร

เคทีเอ็ม อีทีเอส (อังกฤษ: KTM Electric Train Service (ETS) เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าระหว่างเมือง สถานีรถไฟปาดังเบซาร์ รัฐปะลิสสถานีรถไฟเกอมัส รัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน และ สถานีรถไฟเคแอลเซ็นทรัล- สถานีรถไฟเกอมัส รัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน ประเทศมาเลเซีย[2] เดิมรถไฟฟ้าสายนี้เคยวิ่งจากกัวลาลัมเปอร์ไปเซอเริมบัน แต่หยุดให้บริการในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2012[3] รถไฟฟ้ามีความเร็ว 140 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ดำเนินการโดยอีทีเอส ภายใต้การควบคุมของการรถไฟมาลายา (KTMB)

ประวัติ

การรถไฟมาลายา เปิดให้บริการรถไฟฟ้าสายนี้ในวันที่ 12 สิงหาคม ค.ศ. 2010 โดยเป็นเส้นหนึ่งของทางรถไฟสายชายฝั่งทะเลตะวันตก[4]

การให้บริการ

ให้บริการใน 3 ระดับชั้น ได้แก่ ขบวนรถโกลด์ ขบวนรถแพลตินัมและขบวนรถซิลเวอร์ ซิลเวอร์จะเดินทางแค่ KL SENTRAL-IPOH-KL SENTRAL โกลด์และแพตินัมจะเป็นรถที่เดินทางระหว่าง GEMAS-BUTTERWORTH-PADNG BESAR โดยที่โกลด์จะจอดมากกว่า

ประเภทขบวนรถ ชนิดรถ เส้นทาง
ETS Platinum Class 93 Butterworth - KL Sentral
Padang Besar - KL Sentral
ETS Gold Class 93 Butterworth - Gemas
Butterworth - KL Sentral
Padang Besar - Gemas
Padang Besar - KL Sentral
ETS Silver Class 91 Ipoh - KL Sentral

ชั้นโดยสาร

ชั้นโดยสารมีด้วยกัน2แบบ

ที่นั่งชั้น Standard Class คลาส 93

1.Standard Class ที่นั่งถูกจัดเรียงในแบบ 2-2 ในแต่ละที่นั่งมีโต๊ะหน้าที่นั่งและมีปลั๊กไฟใต้ที่นั่ง ที่นั่งไม่สามารถหมุนได้ มีให้บริการทุกขบวน

ที่นั่งชั้น Business Class คลาส 93/3

2.Business Class จัดว่างที่นั่งแบบ 2-1 มีปลั๊กไฟ ช่องเสียบUSB หน้าจอทีวีส่วนตัว อินเทอร์เน็ต มีการเสริฟอาหารและของว่าง มีให้บริการในรถแพลตินัม คลาส93/2




ระบบรถไฟ

รุ่นแรก

รถไฟฟ้ารุ่นแรกคือรุ่น 91 มีจำนวน 5 ขบวน ขบวนละ 6 คัน สั่งซื้อมาในราคา 67 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ออกแบบโดยมะรุเบะนิ ผลิตโดยฮุนไดและมิตซูบิชิ[5] เดิมมีความเร็วสูงสุด 140 กิโลเมตรต่อชั่วโมง แต่ถูกออกแบบให้สามารถวิ่งได้เต็มพิกัดถึง 160 กิโลเมตรต่อชั่วโมง[6] รถไฟฟ้า 1 ขบวน มีความยาว 138 เมตร หนัก 231.8 ตัน ถ้าเป็น 1 คันจะยาว 22.95 เมตร กว้าง 2.75 เมตร สูง 4 เมตร[7] แต่ละขบวนจุผู้โดยสารได้มากที่สุดถึง 350 คน พร้อมกับมีสิ่งอำนวยความสะดวกมากมาย ได้แก่ ห้องน้ำ จอโทรทัศน์

รุ่นที่สอง

ขบวนรถไฟฟ้ารุ่น 93 ผลิตโดยบริษัท CRRC มีความเร็วสูงสุดในการให้บริการคือ 140 กม./ชม. ขบวนรถไฟฟ้ารุ่น 93/2 ขบวนรถไฟฟ้ารุ่น 93/3

สมุดภาพ

ในอนาคต

โครงการรถไฟฟ้าจะมีการขยายเส้นทางเพิ่มไปยังเมืองบัตเตอร์เวิร์ท รัฐปีนัง

ในวันที่ 2 ธันวาคม ค.ศ. 2014 บริษัทผลิตรถจักรจากจีนใต้ ได้ชนะการประกวดราคาระบบรถไฟความเร็วสูง 200 กิโลเมตร จากกัวลาลัมเปอร์อีโปะฮ์ โดยจะมีความเร็วสูงสุดถึง 160 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และจะมีการขยายเส้นทางต่อไปยังปาดังเบซาร์และโจโฮร์บะฮ์รู นอกจากนี้ ยังได้ใช้งบประมาณ 131 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในการผลิตรถโดยสาร 98 คัน[8]

ในวันที่ 6 ธันวาคม ค.ศ. 2014 ประธานบริษัทเกอเรตาปีตานะฮ์เมอลายู ประกาศว่า จะเปิดใช้งานรถไฟฟ้าอีทีเอส กัวลาลัมเปอร์บัตเตอร์เวิร์ท ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 2015 และจะได้รับรถไฟฟ้าใหม่อีก 10 ขบวน โดยจะเริ่มวิ่งในเดือนมกราคม ค.ศ. 2016[9]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 "Statistic for Rail Transport" (ภาษาMalay และ English). Ministry of Transport, Malaysia. สืบค้นเมื่อ 13 December 2018.{{cite web}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์)
  2. "KL-Ipoh electric train to run soon". The Star. 17 December 2010.
  3. "Recent scheduling ETS Services". KTM Intercity. สืบค้นเมื่อ 18 November 2012.
  4. "Malaysia plans five years of rail growth". Railway Gazette International. London. 1 October 2006.
  5. "Marubeni Gets $67 Million Malaysia Train-Car Order, Nikkei Says". Bloomberg. Bloomberg. 26 October 2008.
  6. "Electric trains to reduce travel time". The Star. Central. 24 August 2010.
  7. "Electric Train Set". Malaya Railway.
  8. "asiaone business". สืบค้นเมื่อ 3 December 2014.
  9. "The Star". สืบค้นเมื่อ 8 December 2014.