ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฐานานุกรม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้องกัน "ฐานานุกรม" แล้ว: การก่อกวนจำนวนมาก ([แก้ไข=ป้องกันสำหรับผู้ที่ไม่ล็อกอิน] (ไม่มีกำหนด) [ย้าย=ป้องกันสำหรับผู้ที่ไม่ล็อกอิน] (ไม่มีกำหนด))
ป้ายระบุ: แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Tmd (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{พุทธศาสนา}}
{{พุทธศาสนา}}
[[ไฟล์:ตั้งฐานานุกรมในพระปัญญานันทมุนี.jpg|200px|thumb|left|[[พระราชาคณะ]]ตั้งแต่ชั้นสามัญขึ้นไป สามารถตั้งพระฐานานุกรมของตนได้ตามอัธยาศัย (ในพระบรมราชานุญาต)]]
[[ไฟล์:ตั้งฐานานุกรมในพระปัญญานันทมุนี.jpg|200px|thumb|left|[[พระราชาคณะ]]ตั้งแต่ชั้นสามัญขึ้นไป สามารถตั้งพระฐานานุกรมของตนได้ตามอัธยาศัย (ในพระบรมราชานุญาต)]]
'''ฐานานุกรม''' คือชื่อเรียกลำดับตำแหน่ง[[สมณศักดิ์]]ของ[[พระสงฆ์]]ไทย ซึ่ง[[ภิกษุ]]ผู้มีตำแหน่งทางการปกครองหรือมีสมณศักดิ์สูงบางตำแหน่งมีสิทธิ์ตั้งพระรูปอื่นให้เป็นฐานากรมได้ตามศักดิ์ที่ได้รับพระบรมราชานุญาต เช่น พระสงฆ์ตำแหน่งเจ้าคณะอำเภอ สามารถตั้งฐานานุกรมได้ 3 ตำแหน่ง [[พระราชาคณะ]]ชั้นสามัญตั้งฐานานุกรมได้ 3 ตำแหน่ง เป็นต้น ไปจนกระทั่งถึง[[สมเด็จพระสังฆราช]]ทรงตั้งฐานานุกรมได้ 15 ตำแหน่ง


'''ฐานานุกรม''' คือชื่อเรียกลำดับตำแหน่ง[[สมณศักดิ์]]ของ[[พระสงฆ์]]ไทย ซึ่ง[[ภิกษุ]]ผู้มีตำแหน่งทางการปกครองหรือมีสมณศักดิ์สูงบางตำแหน่ง มีสิทธิ์ตั้งพระภิกษุรูปอื่นให้เป็นฐานานุกรมได้ ตามศักดิ์ที่ได้รับพระบรมราชานุญาตจากพระมหากษัตริย์ไทยที่ระบุไว้ในพระบรมราชโองการพระราชทานสมณศักดิ์ หรือพระราชบัญญัติอื่นอันเกี่ยวเนื่องด้วยคณะสงฆ์
ฐานานุกรมนั้นมีตำแหน่งที่เป็นหลัก 3 ตำแหน่ง คือ '''พระปลัด พระสมุห์ พระใบฎีกา''' หากพระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ที่มีสิทธิ์ตั้งฐานานุกรมเป็นผู้ที่มีสมณศักดิ์ตั้งแต่พระราชาคณะชั้นราชขึ้นไป พระฐานานุกรมที่ท่านเหล่านั้นตั้ง จะเรียก "พระครู" นำหน้าตำแหน่งฐานานุกรมนั้นทุกตำแหน่ง เช่น พระครูปลัด พระครูสังฆรักษ์ เป็นต้น


ฐานานุกรมนั้นมีตำแหน่งที่เป็นหลัก 3 ตำแหน่ง คือ '''พระปลัด พระสมุห์ พระใบฎีกา''' หากพระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ที่มีสิทธิ์ตั้งฐานานุกรมเป็นผู้ที่มีสมณศักดิ์ตั้งแต่พระราชาคณะชั้นราชขึ้นไป พระฐานานุกรมที่ท่านเหล่านั้นตั้ง จะเรียก "พระครู" นำหน้าตำแหน่งฐานานุกรมนั้นทุกตำแหน่ง เช่น พระครูปลัด พระครูสังฆรักษ์ เป็นต้น<ref name="วิทยา2">พระธรรมปริยัติโสภณ (วรวิทย์ คงฺคปญฺโญ ป.ธ. ๘). (2552). วิทยาพระสังฆาธิการ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ รำไท เพรส จำกัด. ISBN 9789748287768</ref>
สิทธิในการให้พระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์สามารถแต่งตั้งพระฐานานุกรมได้ จะมีระบุไว้ในสัญญาบัตรพระราชทานสมณศักดิ์ ว่าให้สามารถตั้งได้เท่านั้นเท่านี้รูป ซึ่งพระสงฆ์ผู้ได้รับพระราชทานสิทธิในการตั้งพระฐานานุกรม จะตั้งหรือไม่ตั้งก็ได้ หรือจะตั้ง แต่ตั้งเพียงจำนวนเท่าที่เห็นควรก็ได้ ไม่จำต้องตั้งทั้งหมด


สิทธิในการให้พระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์สามารถแต่งตั้งพระฐานานุกรมได้ จะมีระบุไว้ในสัญญาบัตรพระบรมราชโองการพระราชทานสมณศักดิ์ ว่าให้สามารถตั้งได้เท่านั้นเท่านี้รูป ซึ่งพระสงฆ์ผู้ได้รับพระราชทานสิทธิในการตั้งพระฐานานุกรม จะตั้งหรือไม่ตั้งก็ได้ หรือจะตั้ง แต่ตั้งเพียงจำนวนเท่าที่เห็นควรก็ได้ ไม่จำต้องตั้งทั้งหมด
ตำแหน่งเหล่านี้เดิมมี[[พัดยศ]]ของหลวงพระราชทานมาให้ แต่ปัจจุบันนี้ต้องจัดทำเอง โดยพระสงฆ์ผู้ทรงสมณศักดิ์ที่มีสิทธิ์แต่งตั้งฐานานุกรมจะแต่งตั้งพระสงฆ์รูปใดในศิษยานุศิษย์ของตน ก็สุดแล้วแต่อัธยาศัย ทางการไม่ได้เกี่ยวข้องในการแต่งตั้งพระฐานานุกรม เพียงแต่รับรู้เท่านั้น


ตำแหน่งเหล่านี้เดิมมี[[พัดยศ]]ของหลวงพระราชทานมาให้ แต่ปัจจุบันนี้ต้องจัดทำเอง โดยพระสงฆ์ผู้ทรงสมณศักดิ์ที่มีสิทธิ์แต่งตั้งฐานานุกรมจะแต่งตั้งพระสงฆ์รูปใดในศิษยานุศิษย์ของตน ก็สุดแล้วแต่อัธยาศัย ทางการไม่ได้เกี่ยวข้องในการแต่งตั้งพระฐานานุกรม เพียงแต่รับรู้เท่านั้น<ref name="วิทยา2"/>
ภิกษุผู้ได้รับแต่งตั้งในลักษณะนี้เรียกว่า '''พระฐานานุกรม''' ทุกรูปจัดเป็นพระมีสมณศักดิ์เหมือนพระสมณศักดิ์ที่ทรงแต่งตั้ง พระในตำแหน่งเหล่านี้บางทีเรียก'''ประทวนสัญญาบัตร''' บ้าง '''ฐานาประทวน''' บ้าง และเนื่องจากสมณศักดิ์เหล่านี้[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]ไม่ได้พระราชทานเอง ดังนั้นเมื่อพระสงฆ์ผู้ทรงสมณศักดิ์ที่ได้ตั้งฐานานุกรมไว้[[มรณภาพ]] ตำแหน่งฐานานุกรมต่าง ๆ ก็ถือว่าเป็นอันสิ้นสุดไปด้วย เรียกกันในภาษาปากว่า '''พระครูม่าย''' หรือ '''ฐานาม่าย''' จนกว่าจะได้รับแต่งตั้งฐานานุกรมใหม่


== ความหมายของฐานานุกรม ==
ในอดีต ตำแหน่งฐานานุกรมบางตำแหน่งมีลำดับสมณศักดิ์สูงกว่า[[พระมหา]]เปรียญ จึงมีบางครั้งที่พระมหาเปรียญก็อาจได้รับแต่งตั้งฐานานุกรมบ้าง ซึ่งเรียกกันในภาษาปากว่า '''ฐานาทรงเครื่อง''' หรือ '''พระครูทรงเครื่อง''' คือมีทั้งตำแหน่งมหาเปรียญและฐานานุกรมในคราวเดียวกัน
คำว่า ฐานานุกรม ในภาษาบาลี มาจากบทคือ ฐาน (ตำแหน่ง) +อนุกฺกม (ลำดับ, ระเบียบ, ชั้น) ประกอบกัน จึงแปลว่า ตำแหน่งที่ตั้งขึ้นตามทำเนียบ ฐานานุกรมจึงหมายถึง ลำดับตำแหน่งยศพระสงฆ์ที่พระราชาคณะมีอำนาจตั้งสมณศักดิ์ให้ ตามทำเนียบที่พระมหากษัตริย์โปรดเกล้าพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้พระราชาคณะหรือเจ้าคณะผู้ปกครองนั้น ๆ เช่น พระสงฆ์ดำรงตำแหน่งเจ้าคณะอำเภอ สามารถตั้งฐานานุกรมได้ 3 ตำแหน่ง [[พระราชาคณะ]]ชั้นสามัญตั้งฐานานุกรมได้ 3 ตำแหน่ง เป็นต้น ไปจนกระทั่งถึง[[สมเด็จพระสังฆราช]]ทรงตั้งฐานานุกรมได้ 15 ตำแหน่ง


== ประเภทของฐานานุกรม ==
=== สถานะของพระฐานานุกรม ===

ภิกษุผู้ได้รับแต่งตั้งในลักษณะนี้เรียกว่า '''พระฐานานุกรม''' ทุกรูปจัดเป็นพระมีสมณศักดิ์ เช่นเดียวกับพระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ตั้งแต่พระครูสัญญาบัตรขึ้นไป ที่พระมหากษัตริย์ทรงมีพระบรมราชโองการแต่งตั้ง

การตั้งฐานานุกรมของพระราชาคณะ เป็นการตั้งโดยพระบรมราชานุญาตตามความที่ระบุในพระบรมราชโองการ ซึ่งทรงใช้พระราชอำนาจในการสถาปนาและถอดถอนฐานันดรศักดิ์ ตามความใน[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย]] โดยไม่ทรงระบุอำนาจในการถอดถอนฐานานุกรมไว้แต่ประการใด ดังนั้นผู้ได้รับแต่งตั้งฐานานุกรมจากพระราชาคณะแล้ว จึงได้รับฐานานุกรมเป็นสิทธิ์เฉพาะตัวตามพระราชโองการ และสามารถใช้ตำแหน่งนั้นได้ตราบเท่าที่ผู้ได้รับตั้งให้เป็นฐานานุกรมยังไม่ลาสิกขา ได้รับสมณศักดิ์สูงขึ้น หรือมรณภาพ

กรณีพระราชาคณะผู้ได้ตั้งฐานานุกรมไว้ตามความในพระราชโองการพระราชทานสมณศักดิ์ ได้ลาสิกขา ได้รับสมณศักดิ์สูงขึ้น หรือ[[มรณภาพ]] ตำแหน่งฐานานุกรมต่าง ๆ ที่พระราชาคณะนั้นๆ ได้ตั้งไว้แก่พระภิกษุต่างๆ แล้ว ยังไม่ถือเป็นอันสิ้นสุดไป เว้นแต่ตำแหน่งฐานานุกรมที่ยังไม่ได้ตั้งจึงถือเป็นอันสิ้นสุดไปตามผู้มีสิทธิ์ตั้ง ไม่สามารถตั้งได้อีกตามพระบรมราชโองการ เนื่องจากพระราชาคณะนั้นๆ ย่อมได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ลาสิกขาบท ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์สูงขึ้น หรือได้ทำหนังสือกราบถวายบังคมทูลลามรณภาพแล้วตามระเบียบปฏิบัติ

ในอดีต ตำแหน่งฐานานุกรมบางตำแหน่งมีลำดับสมณศักดิ์สูงกว่า[[พระมหา]]เปรียญ จึงมีบางครั้งที่พระมหาเปรียญก็อาจได้รับแต่งตั้งฐานานุกรมบ้าง ซึ่งเรียกกันในภาษาปากว่า '''ฐานาทรงเครื่อง''' หรือ '''พระครูทรงเครื่อง''' คือมีทั้งตำแหน่งมหาเปรียญและฐานานุกรมในคราวเดียวกัน<ref name="วิทยา2"/>

=== ประเภทของฐานานุกรม===
ฐานานุกรมแบ่งได้ 4 ตำแหน่ง ได้แก่
ฐานานุกรมแบ่งได้ 4 ตำแหน่ง ได้แก่
# '''ฐานานุกรมชั้นพระราชาคณะ''' ตำแหน่งนี้มีเฉพาะฐานานุกรมในสมเด็จพระสังฆราชเท่านั้น มี 2 ตำแหน่งคือ พระราชาคณะปลัดขวาและพระราชาคณะซ้าย (บางสมัยอาจมีพระราชาคณะปลัดกลาง) และฐานานุกรมชั้นนี้สามารถตั้งฐานานุกรมได้ 3 ตำแหน่งเหมือนพระราชาคณะชั้นสามัญทั่วไป
# '''ฐานานุกรมชั้นพระราชาคณะ''' ตำแหน่งนี้มีเฉพาะฐานานุกรมในสมเด็จพระสังฆราชเท่านั้น มี 2 ตำแหน่งคือ พระราชาคณะปลัดขวาและพระราชาคณะซ้าย (บางสมัยอาจมีพระราชาคณะปลัดกลาง) และฐานานุกรมชั้นนี้สามารถตั้งฐานานุกรมได้ 3 ตำแหน่งเหมือนพระราชาคณะชั้นสามัญทั่วไป
บรรทัด 20: บรรทัด 30:
# '''ฐานานุกรมชั้นธรรมดา''' ฐานานุกรมชั้นนี้เป็นของพระราชาชั้นสามัญ มี 3 ตำแหน่งคือ พระปลัด พระสมุห์ และพระใบฎีกา ไม่มีคำว่าพระครูนำหน้า
# '''ฐานานุกรมชั้นธรรมดา''' ฐานานุกรมชั้นนี้เป็นของพระราชาชั้นสามัญ มี 3 ตำแหน่งคือ พระปลัด พระสมุห์ และพระใบฎีกา ไม่มีคำว่าพระครูนำหน้า


== ฐานานุกรมในสมเด็จพระสังฆราช ==
== ทำเนียบฐานานุกรมของพระราชาคณะชั้นต่างๆ ==
; สมเด็จพระสังฆราชที่สถิต ณ วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม
ได้แก่ [[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน)]]<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2517/A/106/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศสถาปนาสมเด็จพระสังฆราช] เล่ม ๙๑, ตอนที่ ๑๐๖ ฉบับพิเศษ, วันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๑๗, หน้า ๕</ref> และ[[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อัมพร อมฺพโร)]] ตั้งฐานานุกรมได้ 15 รูป คือ<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/B/005/1.PDF พระราชโองการ ประกาศสถาปนาสมเด็จพระสังฆราช], เล่ม ๑๓๔, ตอนที่ ๕ข, วันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๐, หน้า ๒-๓</ref>
* '''พระมหาคณิสร''' ''พุทธศาสนิกนิกรปสาทาภิบาล สกลสังฆประธานมหาสถาวีรกิจการี นายกบดีศรีรัตนคมกาจารย์'' พระราชาคณะปลัดขวา
* '''พระจุลคณิศร''' ''สัทธรรมนิติธรมหาเถราธิการ คณกิจบรรหารธุรการี สมุหบดีศรีธรรมภาณกาจารย์'' พระราชาคณะปลัดซ้าย
{{Col-begin}}
{{Col-2}}
* '''พระครูวินยาภิวุฒิ'''
* '''พระครูวิจิตรธรรมการ''' พระครูพระปริตร
* '''พระครูวินัยธร'''
* '''พระครูโฆสิตสุทธสร''' พระครูคู่สวด
* '''พระครูพิลาสบรรณวัตร'''
* '''พระครูสังฆวิธาน'''
* '''พระครูใบฎีกา'''
{{Col-2}}
* '''พระครูสุตตาภิรม'''
* '''พระครูวิจารณ์ธรรมกิจ''' พระครูพระปริตร
* '''พระครูธรรมธร'''
* '''พระครูอมรสรนาท''' พระครูคู่สวด
* '''พระครูพิพัฒบรรณกร'''
* '''พระครูสมุห์'''
{{Col-end}}

; สมเด็จพระสังฆราชที่สถิต ณ วัดบวรนิเวศวิหาร
ได้แก่ [[สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์]] และ[[สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน)]]
ตั้งฐานานุกรมได้ 15 รูป คือ<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2532/A/063/1.PDF ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๐๖ ตอนที่ ๖๓ วันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๓๒ ฉบับพิเศษ หน้า ๖-๗</ref>
* '''พระมหานายก''' ''พุทธปาพจนดิลกโลกยปสาทาภิบาล สกลสังฆประธานมหาเถรกิจการี คณาธิบดีศรีรัตนคมกาจารย์'' พระราชาคณะปลัดขวา
* '''พระจุลนายก''' ''ธรรมนีติสาธกมหาเถราธิการ คณะกิจบรรหารธุรการี สมุหบดีศรีธรรมภาณกาจารย์'' พระราชาคณะปลัดซ้าย
{{Col-begin}}
{{Col-2}}
* '''พระครูวิสุทธิธรรมภาณ'''
* '''พระครูประสาทพุทธปริตร''' พระครูพระปริตร
* '''พระครูวินัยธร'''
* '''พระครูสรภัญญประกาศ''' พระครูคู่สวด
* '''พระครูนิเทศธรรมจักร'''
* '''พระครูสังฆสิทธิกร'''
* '''พระครูใบฎีกา'''
{{Col-2}}
* '''พระครูพิศาลวินัยวาท'''
* '''พระครูประสิทธิพุทธมนต์''' พระครูพระปริตร
* '''พระครูธรรมธร'''
* '''พระครูสรนาทวิเศษ''' พระครูคู่สวด
* '''พระครูพิทักษ์ธุรกิจ'''
* '''พระครูสมุห์'''
{{Col-end}}

; สมเด็จพระสังฆราชที่สถิต ณ วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามและวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
ได้แก่ [[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ)]]<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2503/A/038/1.PDF ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๗๗ ตอนที่ ๓๘ วันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๐๓ ฉบับพิเศษ หน้า ๗</ref> และ[[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ)]]
ตั้งฐานานุกรมได้ 15 รูป<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2515/A/114/1.PDF ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๘๙ ตอนที่ ๑๑๔ วันที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๑๕ ฉบับพิเศษ หน้า ๖-๗</ref>
* '''พระทักษิณคณาธิกร''' ''สุนทรธรรมสาธก พุทธปาพจนดิลกมหาเถรกิจการี คณาธิบดีศรีรัตนคมกาจารย์'' พระราชาคณะปลัดขวา
* '''พระอุดรคณาภิรักษ์''' ''อัครศาสนกิจบรรหาร มหาเถราธิการธุรการี สมุหบดีศรีธรรมภาณกาจารย์'' พระราชาคณะปลัดซ้าย
{{Col-begin}}
{{Col-2}}
* '''พระครูธรรมกถาสุนทร'''
* '''พระครูพรหมวิหาร''' พระครูพระปริตร
* '''พระครูวินัยธร'''
* '''พระครูพิมลสรภาณ''' พระครูคู่สวด
* '''พระครูพิบูลบรรณวัตร'''
* '''พระครูสังฆบริหาร'''
* '''พระครูใบฎีกา'''
{{Col-2}}
* '''พระครูวินัยกรณ์โสภณ'''
* '''พระครูฌานวิสุทธิ์''' พระครูพระปริตร
* '''พระครูธรรมธร'''
* '''พระครูพิศาลสรคุณ''' พระครูคู่สวด
* '''พระครูพิพัฒน์บรรณกิจ'''
* '''พระครูสมุห์'''
{{Col-end}}

; [[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (จวน อุฏฺฐายี)]]
ตั้งฐานานุกรมได้ 15 รูป คือ<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2508/A/102/1.PDF ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๘๒ ตอนที่ ๑๐๒ วันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๐๘ ฉบับพิเศษ หน้า ๕-๖</ref>
* '''พระมหาคณานุศิษฏ์''' ''สังฆอิสริยาลงกรณ์ สุนทรธรรมสาทก พุทธปาพจนดิลกมหาเถรกิจจการี คณาธิบดีศรีรัตนคมกาจารย์'' พระราชาคณะปลัดขวา
* '''พระจุลคณานุศาสก์''' ''วิจารโณภาสภาคยคุณ สุนทรศาสนกิจบรรหาร มหาเถราธุรกิจจการี สมุหบดีศรีธรรมภาณกาจารย์'' พระราชาคณะปลัดซ้าย
{{Col-begin}}
{{Col-2}}
* '''พระครูธรรมกถาสุนทร'''
* '''พระครูพรหมวิหาร''' พระครูพระปริตร
* '''พระครูวินัยธร'''
* '''พระครูพิมลสรภาณ''' พระครูคู่สวด
* '''พระครูพิบูลบรรณวัตร'''
* '''พระครูสังฆบริหาร'''
* '''พระครูใบฎีกา'''
{{Col-2}}
* '''พระครูวินัยกรณ์โสภณ'''
* '''พระครูฌานวิสุทธิ์''' พระครูพระปริตร
* '''พระครูธรรมธร'''
* '''พระครูพิศาลสรคุณ''' พระครูคู่สวด
* '''พระครูพิพัฒนบรรณกิจ'''
* '''พระครูสมุห์'''
{{Col-end}}

; [[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อยู่ ญาโณทโย)]]
ตั้งฐานานุกรมได้ 15 รูป คือ<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2506/A/045/1.PDF ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๘๐ ตอนที่ ๔๕ วันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๕๐๖ ฉบับพิเศษ หน้า ๔</ref>
* '''พระมหาคณานุศิษฏ์''' ''สังฆอิสริยาลงกรณ์ สุนทรธรรมสาธก พุทธปาพจนดิลกมหาเถรกิจจการี คณาธิบดีศรีรัตนคมกาจารย์'' พระราชาคณะปลัดขวา
* '''พระจุลคณานุศาสน์''' ''วิจารโณภาสภาคยคุณ สุนทรศาสนกิจบรรหาร มหาเถราธิการธุรการี สมุหบดีศรีธรรมภาณกาจารย์'' พระราชาคณะปลัดซ้าย
{{Col-begin}}
{{Col-2}}
* '''พระครูธรรมกถาสุนทร'''
* '''พระครูพรหมวิหาร''' พระครูพระปริตร
* '''พระครูวินัยธร'''
* '''พระครูพิมลสรภาณ''' พระครูคู่สวด
* '''พระครูพิบูลบรรณวัตร'''
* '''พระครูสังฆบริหาร'''
* '''พระครูใบฎีกา'''
{{Col-2}}
* '''พระครูวินัยกรณ์โสภณ'''
* '''พระครูฌานวิสุทธิ์''' พระครูพระปริตร
* '''พระครูธรรมธร'''
* '''พระครูพิศาลสรคุณ''' พระครูคู่สวด
* '''พระครูพิพัฒนบรรณกิจ'''
* '''พระครูสมุห์'''
{{Col-end}}

; [[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)|'''สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)''']]

ตั้งฐานานุกรมได้ 15 รูป คือ<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2482/D/1781.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๕๖ วันที่ ๒๕ กันยายน ๒๔๘๒ หน้า ๑๗๘๓-๑๗๘๔</ref>
* '''พระครูมหาคณานุสิชฌม์''' ''สังฆอิศริยาลังการ วิจารณโกศล วิมลสังฆนายก ปิฎกธรรมรักขิต'' พระครูปลัดขวา
* '''พระครูจุลคณานุสาสน์''' ''วิจารโณภาสภาคยคุณ สุนทรสังฆานุคุตติ วิสุทธิสังฆนายก ปิฎกธรรมรักขิต'' พระครูปลัดซ้าย
{{Col-begin}}
{{Col-2}}
* '''พระครูธรรมกถาสุนทร'''
* '''พระครูพรหมวิหาร''' พระครูปริตร
* '''พระครูวินัยธร'''
* '''พระครูพิมลสรภาณ''' พระครูคู่สวด
* '''พระครูพิบุลบรรณวัตร'''
* '''พระครูสังฆบริหาร'''
* '''พระครูใบฎีกา'''
{{Col-2}}
* '''พระครูวินัยกรณ์โศภน'''
* '''พระครูญาณวิสุทธิ์''' พระครูปริตร
* '''พระครูธรรมธร'''
* '''พระครูพิศาลสรคุณ''' พระครูคู่สวด
* '''พระครูพิพัฒน์บรรณกิจ'''
* '''พระครูสมุห์'''
{{Col-end}}
; [[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว)]]
ตั้งฐานานุกรมได้ 16 รูป คือ<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2436/036/388.PDF ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 10 หน้า 389-390</ref>
* '''พระครูปลัดสัมพิพรรฒศีลาจารย์''' ''ญาณวิมล สกลคณิศร อุดรสังฆนายก ปิฎกธรรมรักขิต''
* '''พระครูปลัดวาจีคณานุสิชฌน์''' ''สังฆอิศริยาลังการ วิจารณกิจโกศล วิมลสังฆนายก ปิฎกธรรมรักขิต''
* '''พระครูปลัดอุทิจยานุสาสน์''' ''วิจารโณภาษภาคยคุณ สุนทรสังฆานุคติ วิสุทธิสังฆนายก ปิฎกธรรมรักขิต''
{{Col-begin}}
{{Col-2}}
* '''พระครูธรรมกถาสุนทร'''
* '''พระครูพรหมวิหาร'''
* '''พระครูวินัยธร'''
* '''พระครูเมธังกร'''
* '''พระครูธรรมราต'''
* '''พระครูสังฆวิจารณ์'''
* '''พระครูใบฎีกา'''
{{Col-2}}
* '''พระครูวินัยกรณ์โศภน'''
* '''พระครูญาณวิสุทธ์'''
* '''พระครูวินัยธรรม'''
* '''พระครูวรวงษา'''
* '''พระครูธรรมรูจี'''
* '''พระครูสมุห์'''
{{Col-end}}

==รายนามฐานานุกรม ในพระอัฐิ[[สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส]] ==
* '''พระทักษิณคณิสสร''' ''บวรสังฆสิทธิการ วิจารณกิจโกศล สกลมหาคณาธิบดี ตรีปิฎกธรรมรักขิต'' พระราชาคณะปลัดขวา
* '''พระอุดรคณารักษ์''' ''อรรควิจารณคุณ วิบุลญาณอนันต์ สรรพมหาคณาธิบดี ตรีปิฎกธรรมรักขิต'' พระราชาคณะปลัดซ้าย
* '''พระสมุหวรคณิสสรสิทธิการ''' ''พิศาลวรกิจโกศล โสภณศีลาจารนืวิฐ พิพิธมหาคณาธิบดี ตรีปิฎกธรรมรักขิต'' พระราชาคณะปลัดกลาง
{{Col-begin}}
{{Col-2}}
* '''พระครูวิทยาคม''' พระครูพระปริตร
* '''พระครูอมรวิไชย''' พระครูพระปริตร
* '''พระครูวิสุทธิสมโพธิ์''' พระครู[[วิปัสสนา]]
* '''พระครูวินัยธร'''
* '''พระครูสุนทรโฆสิต''' พระครูคู่สวด
* '''พระครูสังฆบริรักษ์'''
* '''พระครูใบฎีกา'''
{{Col-2}}
* '''พระครูอุดมสังวร''' พระครูพระปริตร
* '''พระครูไกรสรศักดิ์''' พระครูพระปริตร
* '''พระครูนิโรธรักขิต''' พระครูวิปัสสนา
* '''พระครูวิจิตรโฆษา''' พระครูคู่สวด
* '''พระครูธรรมธร'''
* '''พระครูสมุห์'''
{{Col-end}}
ตามประกาศ ตำแหน่งพระสงฆ์สมณศักดิ์ คณะกลาง วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม พระอัฎฐิพระ
ถานานุกรมในพระอัฎฐิ 17 รูป<ref name=":0">ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2435/017/112.PDF ประกาศ ตำแหน่งพระสงฆ์สมณศักดิ์ คณะกลาง วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม พระอัฎฐิพระ], เล่ม ๙, ตอนที่ ๑๗, ๒๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๓๕, หน้า ๑๑๒</ref>
* '''พระครูปลัดอริยวงษาจาริย์ญาณมุนีศรีสังฆปรินายก''' พระครูปลัดขวา
* '''พระครูปลัดเทพสิทธิเทพาธิบดี''' พระครูปลัดซ้าย
* '''พระครูทักษิณคณิศร'''
* '''พระครูอุดรคณารักษ์''' ผู้ดูการวัด
* '''พระครูสมุห์วรอรรคณิศรสิทธิการ'''
* '''พระครูไพโรจน์ราชสังฆาราม'''
* '''พระครูวิสุทธิสมโพธิ์'''
* '''พระครูไกรสรประสิทธิ์'''
* '''พระครูวิธยาคม'''
* '''พระครูอุดมสังวร'''
* '''พระครูอมรวิไชย์'''
* '''พระครูวินัยธร'''
* '''พระครูธรรมธร'''
* '''พระครูสุนทรโฆสิต'''
* '''พระครูวิจิตรโฆษา'''
* '''พระครูสังฆบริรักษ์'''
* '''พระครูใบฎีกา'''


จำนวนของฐานานุกรม ที่พระราชาคณะชั้นต่างๆ จะมีสิทธิ์ตั้งได้นั้น จะถูกระบุไว้ในพระบรมราชโองการพระราชทานสมณศักดิ์ ปัจจุบันการพระราชทานพระราชอำนาจให้แก่พระราชาคณะในการตั้งฐานานุกรมชั้นต่าง ๆ เป็นไปตามพระราชอัธยาศรัย แต่โดยประเพณีจะมีการตั้งโดยระบุฐานานุกรมมีราชทินนาม และฐานานุกรมอื่น ดังนี้
== รายนามฐานานุกรมของพระราชาคณะชั้นต่างๆ ==


{|class="wikitable"
{|class="wikitable"

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:34, 27 มิถุนายน 2563

พระราชาคณะตั้งแต่ชั้นสามัญขึ้นไป สามารถตั้งพระฐานานุกรมของตนได้ตามอัธยาศัย (ในพระบรมราชานุญาต)

ฐานานุกรม คือชื่อเรียกลำดับตำแหน่งสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ไทย ซึ่งภิกษุผู้มีตำแหน่งทางการปกครองหรือมีสมณศักดิ์สูงบางตำแหน่ง มีสิทธิ์ตั้งพระภิกษุรูปอื่นให้เป็นฐานานุกรมได้ ตามศักดิ์ที่ได้รับพระบรมราชานุญาตจากพระมหากษัตริย์ไทยที่ระบุไว้ในพระบรมราชโองการพระราชทานสมณศักดิ์ หรือพระราชบัญญัติอื่นอันเกี่ยวเนื่องด้วยคณะสงฆ์

ฐานานุกรมนั้นมีตำแหน่งที่เป็นหลัก 3 ตำแหน่ง คือ พระปลัด พระสมุห์ พระใบฎีกา หากพระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ที่มีสิทธิ์ตั้งฐานานุกรมเป็นผู้ที่มีสมณศักดิ์ตั้งแต่พระราชาคณะชั้นราชขึ้นไป พระฐานานุกรมที่ท่านเหล่านั้นตั้ง จะเรียก "พระครู" นำหน้าตำแหน่งฐานานุกรมนั้นทุกตำแหน่ง เช่น พระครูปลัด พระครูสังฆรักษ์ เป็นต้น[1]

สิทธิในการให้พระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์สามารถแต่งตั้งพระฐานานุกรมได้ จะมีระบุไว้ในสัญญาบัตรพระบรมราชโองการพระราชทานสมณศักดิ์ ว่าให้สามารถตั้งได้เท่านั้นเท่านี้รูป ซึ่งพระสงฆ์ผู้ได้รับพระราชทานสิทธิในการตั้งพระฐานานุกรม จะตั้งหรือไม่ตั้งก็ได้ หรือจะตั้ง แต่ตั้งเพียงจำนวนเท่าที่เห็นควรก็ได้ ไม่จำต้องตั้งทั้งหมด

ตำแหน่งเหล่านี้เดิมมีพัดยศของหลวงพระราชทานมาให้ แต่ปัจจุบันนี้ต้องจัดทำเอง โดยพระสงฆ์ผู้ทรงสมณศักดิ์ที่มีสิทธิ์แต่งตั้งฐานานุกรมจะแต่งตั้งพระสงฆ์รูปใดในศิษยานุศิษย์ของตน ก็สุดแล้วแต่อัธยาศัย ทางการไม่ได้เกี่ยวข้องในการแต่งตั้งพระฐานานุกรม เพียงแต่รับรู้เท่านั้น[1]

ความหมายของฐานานุกรม

คำว่า ฐานานุกรม ในภาษาบาลี มาจากบทคือ ฐาน (ตำแหน่ง) +อนุกฺกม (ลำดับ, ระเบียบ, ชั้น) ประกอบกัน จึงแปลว่า ตำแหน่งที่ตั้งขึ้นตามทำเนียบ ฐานานุกรมจึงหมายถึง ลำดับตำแหน่งยศพระสงฆ์ที่พระราชาคณะมีอำนาจตั้งสมณศักดิ์ให้ ตามทำเนียบที่พระมหากษัตริย์โปรดเกล้าพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้พระราชาคณะหรือเจ้าคณะผู้ปกครองนั้น ๆ เช่น พระสงฆ์ดำรงตำแหน่งเจ้าคณะอำเภอ สามารถตั้งฐานานุกรมได้ 3 ตำแหน่ง พระราชาคณะชั้นสามัญตั้งฐานานุกรมได้ 3 ตำแหน่ง เป็นต้น ไปจนกระทั่งถึงสมเด็จพระสังฆราชทรงตั้งฐานานุกรมได้ 15 ตำแหน่ง

สถานะของพระฐานานุกรม

ภิกษุผู้ได้รับแต่งตั้งในลักษณะนี้เรียกว่า พระฐานานุกรม ทุกรูปจัดเป็นพระมีสมณศักดิ์ เช่นเดียวกับพระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ตั้งแต่พระครูสัญญาบัตรขึ้นไป ที่พระมหากษัตริย์ทรงมีพระบรมราชโองการแต่งตั้ง

การตั้งฐานานุกรมของพระราชาคณะ เป็นการตั้งโดยพระบรมราชานุญาตตามความที่ระบุในพระบรมราชโองการ ซึ่งทรงใช้พระราชอำนาจในการสถาปนาและถอดถอนฐานันดรศักดิ์ ตามความในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย โดยไม่ทรงระบุอำนาจในการถอดถอนฐานานุกรมไว้แต่ประการใด ดังนั้นผู้ได้รับแต่งตั้งฐานานุกรมจากพระราชาคณะแล้ว จึงได้รับฐานานุกรมเป็นสิทธิ์เฉพาะตัวตามพระราชโองการ และสามารถใช้ตำแหน่งนั้นได้ตราบเท่าที่ผู้ได้รับตั้งให้เป็นฐานานุกรมยังไม่ลาสิกขา ได้รับสมณศักดิ์สูงขึ้น หรือมรณภาพ

กรณีพระราชาคณะผู้ได้ตั้งฐานานุกรมไว้ตามความในพระราชโองการพระราชทานสมณศักดิ์ ได้ลาสิกขา ได้รับสมณศักดิ์สูงขึ้น หรือมรณภาพ ตำแหน่งฐานานุกรมต่าง ๆ ที่พระราชาคณะนั้นๆ ได้ตั้งไว้แก่พระภิกษุต่างๆ แล้ว ยังไม่ถือเป็นอันสิ้นสุดไป เว้นแต่ตำแหน่งฐานานุกรมที่ยังไม่ได้ตั้งจึงถือเป็นอันสิ้นสุดไปตามผู้มีสิทธิ์ตั้ง ไม่สามารถตั้งได้อีกตามพระบรมราชโองการ เนื่องจากพระราชาคณะนั้นๆ ย่อมได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ลาสิกขาบท ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์สูงขึ้น หรือได้ทำหนังสือกราบถวายบังคมทูลลามรณภาพแล้วตามระเบียบปฏิบัติ

ในอดีต ตำแหน่งฐานานุกรมบางตำแหน่งมีลำดับสมณศักดิ์สูงกว่าพระมหาเปรียญ จึงมีบางครั้งที่พระมหาเปรียญก็อาจได้รับแต่งตั้งฐานานุกรมบ้าง ซึ่งเรียกกันในภาษาปากว่า ฐานาทรงเครื่อง หรือ พระครูทรงเครื่อง คือมีทั้งตำแหน่งมหาเปรียญและฐานานุกรมในคราวเดียวกัน[1]

ประเภทของฐานานุกรม

ฐานานุกรมแบ่งได้ 4 ตำแหน่ง ได้แก่

  1. ฐานานุกรมชั้นพระราชาคณะ ตำแหน่งนี้มีเฉพาะฐานานุกรมในสมเด็จพระสังฆราชเท่านั้น มี 2 ตำแหน่งคือ พระราชาคณะปลัดขวาและพระราชาคณะซ้าย (บางสมัยอาจมีพระราชาคณะปลัดกลาง) และฐานานุกรมชั้นนี้สามารถตั้งฐานานุกรมได้ 3 ตำแหน่งเหมือนพระราชาคณะชั้นสามัญทั่วไป
  2. ฐานานุกรมชั้นพระครูปลัดมีราชทินนาม พระครูปลัดมีราชทินนามเป็นฐานานุกรมของพระราชาคณะชั้นธรรมขึ้นไปจนถึงสมเด็จพระราชาคณะ เมื่อได้ตั้งฐานานุกรมชั้นนี้แล้ว ต้องไปแจ้งที่กรมการศาสนาเพื่อขึ้นทะเบียน และจัดนิตยภัตถวายเช่นเดียวกับพระครูสัญญาบัตรทั่วไป
  3. ฐานานุกรมชั้นพระครูอื่น คือ ฐานานุกรมของพระราชาชั้นราชขึ้นไปจนถึงฐานานุกรมในสมเด็จพระสังฆราชบางตำแหน่ง เป็นตำแหน่งที่มีคำว่า "พระครู" นำหน้า เช่น พระครูปลัด พระครูวินัยธร เป็นต้น อนึ่ง พระครูฐานานุกรมของสมเด็จพระสังฆราช 4 ตำแหน่งที่อยู่อยู่ระหว่างพระราชาคณะปลัดซ้ายกับพระครูวินัยธร มีสิทธิ์รับพระราชทานนิตยภัตเช่นเดียวกับพระครูปลัดมีราชทินนาม
  4. ฐานานุกรมชั้นธรรมดา ฐานานุกรมชั้นนี้เป็นของพระราชาชั้นสามัญ มี 3 ตำแหน่งคือ พระปลัด พระสมุห์ และพระใบฎีกา ไม่มีคำว่าพระครูนำหน้า

ทำเนียบฐานานุกรมของพระราชาคณะชั้นต่างๆ

จำนวนของฐานานุกรม ที่พระราชาคณะชั้นต่างๆ จะมีสิทธิ์ตั้งได้นั้น จะถูกระบุไว้ในพระบรมราชโองการพระราชทานสมณศักดิ์ ปัจจุบันการพระราชทานพระราชอำนาจให้แก่พระราชาคณะในการตั้งฐานานุกรมชั้นต่าง ๆ เป็นไปตามพระราชอัธยาศรัย แต่โดยประเพณีจะมีการตั้งโดยระบุฐานานุกรมมีราชทินนาม และฐานานุกรมอื่น ดังนี้

สมเด็จพระราชาคณะ พระราชาคณะเจ้าคณะรอง พระราชาคณะชั้นธรรม พระราชาคณะชั้นเทพ พระราชาคณะชั้นราช พระราชาคณะชั้นสามัญ
  • พระครูปลัดมีราชทินนาม ๑
    (พระครูปลัดสัมพิพัฒน...จารย์)
  • พระครูวินัยธร ๑
  • พระครูธรรมธร ๑
  • พระครูคู่สวด ๒
  • พระครูรองคู่สวด ๒
  • พระครูสังฆรักษ์
    มีราชทินนาม ๑
  • พระครูสมุห์ ๑
  • พระครูใบฎีกา ๑
  • พระครูปลัดมีราชทินนาม ๑
    (พระครูปลัดสุวัฒน...คุณ)[# 1]
  • พระครูวินัยธร ๑
  • พระครูธรรมธร ๑
  • พระครูคู่สวด ๒
  • พระครูสังฆรักษ์
    มีราชทินนาม ๑
  • พระครูสมุห์ ๑
  • พระครูใบฎีกา ๑
  • พระครูปลัดมีราชทินนาม ๑
    (พระครูปลัด...วัฒน์)[# 2]
  • พระครูวินัยธร ๑
  • พระครูธรรมธร ๑
  • พระครูสังฆรักษ์ ๑
  • พระครูสมุห์ ๑
  • พระครูใบฎีกา ๑
  • พระครูปลัด ๑
  • พระครูวินัยธร ๑
  • พระครูสังฆรักษ์ ๑
  • พระครูสมุห์ ๑
  • พระครูใบฎีกา ๑
  • พระครูปลัด ๑
  • พระครูสังฆรักษ์ ๑
  • พระครูสมุห์ ๑
  • พระครูใบฎีกา ๑
  • พระปลัด ๑
  • พระสมุห์ ๑
  • พระใบฎีกา ๑
หมายเหตุ
  1. ยกเว้นพระครูปลัด ฐานานุกรมในพระสาสนโสภณ จะมีราชทินนามว่า พระครูปลัดอรรถจริยานุกิจ
  2. ในพระราชาคณะชั้นธรรมบางรูป จะมีฐานานุกรมที่ลงท้ายด้วย "วัตร" เช่น พระธรรมราชานุวัตร มีพระครูปลัด มีราชทินนามว่า พระครูปลัดมหาเถรานุวัตร เป็นต้น

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 พระธรรมปริยัติโสภณ (วรวิทย์ คงฺคปญฺโญ ป.ธ. ๘). (2552). วิทยาพระสังฆาธิการ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ รำไท เพรส จำกัด. ISBN 9789748287768