ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร"

พิกัด: 13°44′37″N 100°29′20″E / 13.743710°N 100.488966°E / 13.743710; 100.488966
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Witwatarun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8823425 โดย Mr.BuriramCN: ข้อมูล copy-pasteด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 22: บรรทัด 22:
| footnote =
| footnote =
}}
}}
{{maplink|frame=yes|frame-width=250|zoom=13|type=shape|text=แผนที่}}<mapframe height="200" zoom="13" text="แผนที่" width="250">{"properties":{"stroke-width":6,"stroke":"#ff0000","title":"วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร"},"type":"ExternalData","service":"geoshape","ids":"Q724970"}</mapframe>
{{maplink|frame=yes|frame-width=250|zoom=13|type=shape|text=แผนที่}}


'''วัดอรุณราชวราราม''' หรือที่นิยมเรียกกันใน[[ภาษาพูด]]ว่า '''วัดแจ้ง''' หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า '''วัดอรุณ''' เป็นวัดโบราณ สร้างใน[[สมัยอยุธยา]] ที่ชื่อวัดแจ้ง เพราะ พระเจ้าตากฯ ทำศึกเสร็จ แล้วยกทัพกลับมาเป็นเวลาเช้าพอดี ว่ากันว่าเดิมเรียกว่า วัดมะกอก และกลายเป็นวัดมะกอกนอกในเวลาต่อมา เพราะได้มีการสร้างวัดขึ้นอีกวัดหนึ่งในตำบลเดียวกัน แต่อยู่ในคลองบางกอกใหญ่ ชาวบ้านเรียกวัดที่สร้างใหม่ว่า วัดมะกอกใน ([[วัดนวลนรดิศ]]) แล้วจึงเรียกวัดมะกอกซึ่งอยู่ปากคลองบางกอกใหญ่ว่า วัดมะกอกนอก ส่วนเหตุที่มีการเปลี่ยนชื่อเป็นวัดแจ้งนั้น เชื่อกันว่า เมื่อ[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]]ทรงตั้งราชธานีที่[[กรุงธนบุรี]]ใน [[พ.ศ. 2310]] ได้เสด็จมาถึงหน้าวัดนี้ตอนรุ่งแจ้ง จึงพระราชทานชื่อใหม่ว่าวัดแจ้ง แต่ความเชื่อนี้ไม่ถูกต้อง เพราะเพลงยาวหม่อมภิมเสน วรรณกรรมสมัยอยุธยาที่บรรยายการเดินทางจากอยุธยาไปยังเพชรบุรี ได้ระบุชื่อวัดนี้ไว้ว่าชื่อวัดแจ้งตั้งแต่เวลานั้นแล้ว
'''วัดอรุณราชวราราม''' หรือที่นิยมเรียกกันใน[[ภาษาพูด]]ว่า '''วัดแจ้ง''' หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า '''วัดอรุณ''' เป็นวัดโบราณ สร้างใน[[สมัยอยุธยา]] ที่ชื่อวัดแจ้ง เพราะ พระเจ้าตากฯ ทำศึกเสร็จ แล้วยกทัพกลับมาเป็นเวลาเช้าพอดี ว่ากันว่าเดิมเรียกว่า วัดมะกอก และกลายเป็นวัดมะกอกนอกในเวลาต่อมา เพราะได้มีการสร้างวัดขึ้นอีกวัดหนึ่งในตำบลเดียวกัน แต่อยู่ในคลองบางกอกใหญ่ ชาวบ้านเรียกวัดที่สร้างใหม่ว่า วัดมะกอกใน ([[วัดนวลนรดิศ]]) แล้วจึงเรียกวัดมะกอกซึ่งอยู่ปากคลองบางกอกใหญ่ว่า วัดมะกอกนอก ส่วนเหตุที่มีการเปลี่ยนชื่อเป็นวัดแจ้งนั้น เชื่อกันว่า เมื่อ[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]]ทรงตั้งราชธานีที่[[กรุงธนบุรี]]ใน [[พ.ศ. 2310]] ได้เสด็จมาถึงหน้าวัดนี้ตอนรุ่งแจ้ง จึงพระราชทานชื่อใหม่ว่าวัดแจ้ง แต่ความเชื่อนี้ไม่ถูกต้อง เพราะเพลงยาวหม่อมภิมเสน วรรณกรรมสมัยอยุธยาที่บรรยายการเดินทางจากอยุธยาไปยังเพชรบุรี ได้ระบุชื่อวัดนี้ไว้ว่าชื่อวัดแจ้งตั้งแต่เวลานั้นแล้ว
บรรทัด 29: บรรทัด 29:


ในสมัยรัตนโกสินทร์ รัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ได้เสด็จมาประทับที่พระราชวังเดิม และได้ทรงปฏิสังขรณ์วัดแจ้งใหม่ทั้งวัด แต่ยังไม่ทันสำเร็จก็สิ้นรัชกาลที่ 1 สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทรได้เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระองค์ได้ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดแจ้งต่อมา และพระราชทานนามใหม่ว่า “วัดอรุณราชธาราม” ต่อมามีพระราชดำริที่จะเสริมสร้าง[[พระปรางค์วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร|พระปรางค์หน้าวัด]]ให้สูงขึ้น แต่สิ้นรัชกาลเสียก่อน จนถึงรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ให้เสริมพระปรางค์ขึ้นและให้ยืมมงกุฎที่หล่อสำหรับพระพุทธรูปทรงเครื่องที่จะเป็นพระประธานวัดนางนองมาติดต่อบนยอดนภศูล ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์วัดอรุณราชธารามหลายรายการ และให้อัญเชิญพระบรมอัฐิของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมาบรรจุไว้ที่พระพุทธอาสน์ของพระประธานในพระอุโบสถด้วย เมื่อการปฏิสังขรณ์เสร็จสิ้นลง พระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดอรุณราชวราราม”
ในสมัยรัตนโกสินทร์ รัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ได้เสด็จมาประทับที่พระราชวังเดิม และได้ทรงปฏิสังขรณ์วัดแจ้งใหม่ทั้งวัด แต่ยังไม่ทันสำเร็จก็สิ้นรัชกาลที่ 1 สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทรได้เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระองค์ได้ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดแจ้งต่อมา และพระราชทานนามใหม่ว่า “วัดอรุณราชธาราม” ต่อมามีพระราชดำริที่จะเสริมสร้าง[[พระปรางค์วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร|พระปรางค์หน้าวัด]]ให้สูงขึ้น แต่สิ้นรัชกาลเสียก่อน จนถึงรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดเกล้าฯ ให้เสริมพระปรางค์ขึ้นและให้ยืมมงกุฎที่หล่อสำหรับพระพุทธรูปทรงเครื่องที่จะเป็นพระประธานวัดนางนองมาติดต่อบนยอดนภศูล ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์วัดอรุณราชธารามหลายรายการ และให้อัญเชิญพระบรมอัฐิของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมาบรรจุไว้ที่พระพุทธอาสน์ของพระประธานในพระอุโบสถด้วย เมื่อการปฏิสังขรณ์เสร็จสิ้นลง พระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดอรุณราชวราราม”
[[ไฟล์:Www002.jpg|thumb|พระพุทธธรรมมิศรราชโลกธาตุดิลก วัดอรุณราชวราราม]]
<br />
==== พระพุทธธรรมมิศรราชโลกธาตุดิลก วัดอรุณราชวราราม<ref>https://historyoftemples.kachon.com/353483</ref> ====
พระประธานในพระอุโบสถ วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงวัดอรุณฯ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ อันเป็นวัดประจำรัชกาลที่ ๒ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ มีนามว่า “พระพุทธธรรมมิศรราชโลกธาตุดิลก” ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ ทรงพระราชทานนามให้ พระประธานในพระอุโบสถ องค์นี้ มีเรื่องเล่าขานกันว่า พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ ทรงปั้นหุ่นพระพักตร์ด้วยฝีพระหัตถ์ของพระองค์เอง เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย มีขนาดหน้าตักกว้าง ๓ ศอกคืบหรือ ๑.๗๕ เมตร ศิลปกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ประดิษฐานเหนือแท่นไพทีบนฐานชุกชี


พระพุทธรูปองค์นี้เดิมยังไม่มีพระนามเบื้องพระพักตร์ มีรูปหล่อพระอัครสาวก ๒ องค์ หันหน้าเข้าหาองค์พระประธาน ระหว่างกลางรูปหล่อพระอัครสาวก ๒ องค์นั้น มี พัดยศพระประธาน (พัดแฉกใหญ่) ตั้งอยู่เช่นเดียวกับ “พระพุทธเทวปฏิมากร” วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ ได้ทรงอัญเชิญ พระบรมอัฐิของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ มาประดิษฐานบรรจุไว้ที่ ‘ผ้าทิพย์’ ซึ่งประดับด้วยลายพระราชลัญจกรเป็นรูปครุฑจับนาคตรง ใบพัดยศพระประธาน ในบริเวณ พระพุทธอาสน์ ของพระประธานในพระอุโบสถ แล้วถวายพระนามพระพุทธรูปองค์นี้ว่า “พระพุทธธรรมมิศรราชโลกธาตุดิลก”

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ได้ทรงสันนิษฐานเกี่ยวกับ พัดยศพระประธาน ดังกล่าวนี้ไว้ว่า “นึกได้ว่าในเรื่องพุทธประวัติ มีพระเจ้าแผ่นดินพระองค์หนึ่ง ดูเหมือนจะเป็นพระเจ้าปเสนทิ ได้ทำพัดงาถวายพระพุทธองค์ สำหรับทรงถือในเวลาประทานพระธรรมเทศนา เรื่องนั้นพวกสร้างพระพุทธรูปได้เอาเป็นคติ ทำพระพุทธรูปปางหนึ่งทรงถือพัด มีมาแต่โบราณ ยกตัวอย่างดังเช่น พระชัยนวรัฐ ที่เจ้าเชียงใหม่ถวายสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง เป็นต้น

แลยังมีอยู่ในพิพิธภัณฑสถานอีกหลายองค์ แต่ชั้นเก่าทำพัดเป็นรูปกลมหรือรูปไข่ เช่น รูปพัดงาสาน พระชัยของหลวงสร้างประจำรัชกาล ก็คงมาแต่พระปางนั้น เป็นแต่แก้รูปพัดเป็นพัดแฉก คงเป็นแบบพระชัยหลวง มาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกจึงทรงสร้างพระชัยประจำรัชกาลที่ ๑ เป็นปางทรงถือพัดแฉก ยังมีคติเนื่องกับพระพุทธรูปปางถือพัดต่อไปอีกอย่างหนึ่ง ที่พระเจ้าแผ่นดินถวายพัดแฉกเป็นพุทธบูชา ตั้งไว้บานฐานชุกชีข้างหน้าพระประธานในพระอารามหลวง เคยเห็นที่วัดอรุณ วัดราชบุรณะ และทำเป็นพัดแฉกขนาดใหญ่ถวายพระพุทธเทวปฏิมากรวัดพระเชตุพน ยังปรากฏอยู่จนบัดนี้”
[[ไฟล์:Www003.jpg|thumb|พระพุทธชัมภูนุทมหาบุรุษลักขณาอสีตยานุบพิตร วัดอรุณราชวราราม]]
<br />
==== พระพุทธชัมภูนุทมหาบุรุษลักขณาอสีตยานุบพิตร วัดอรุณราชวราราม<ref>https://historyoftemples.kachon.com/353484</ref> ====
พระพุทธชัมภูนุทมหาบุรุษลักขณาอสีตยานุบพิตร วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร (วัดแจ้ง) กรุงเทพฯ “พระวิหาร” วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร (วัดแจ้ง) ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงวัดอรุณฯ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ อันเป็นวัดประจำรัชกาลที่ ๒ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ตั้งอยู่ระหว่างมณฑปพระพุทธบาทจำลองกับหมู่กุฏิคณะ ๑ สร้างในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ ๒ เช่นกันเป็นพระวิหารยกพื้นสูงเช่นเดียวกับพระอุโบสถ หลังคาลด ๓ ชั้น มุงด้วยกระเบื้องเคลือบสี หน้าบันสลักด้วยไม้มีรูปเทวดาถือพระขรรค์ยืนอยู่บนแท่น ประดับด้วยลายกระหนก ลงรักปิดทองประดับกระจก มีมุขทั้งด้านหน้าและด้านหลัง ด้านหน้ามีประตูเข้า ๓ ประตู ด้านหลังมี ๒ ประตู

ผนังด้านนอกประดับด้วยกระเบื้องเคลือบลายก้านแย่งกระบวนไทย เป็นกระเบื้องที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ ทรงสั่งมาจากเมืองจีนเพื่อใช้ประดับผนังด้านนอกพระอุโบสถ แต่ไม่งามพระราชหฤทัย จึงทรงโปรดให้เอามาประดับผนังด้านนอกพระวิหารนี้ ด้านนอกของประตูและหน้าต่างทั้ง ๑๔ ช่อง ทำขึ้นใหม่ เป็นลายรดน้ำรูปดอกไม้ ผนังด้านใน เดิมคงมีภาพจิตรกรรมฝาผนัง เพราะเสาสี่เหลี่ยมข้างใน และเรือนแก้วหลังพระประธานและบนบานประตูและหน้าต่างด้านใน ยังมีภาพสีปรากฏอยู่ แต่ปัจจุบันผนังได้ฉาบด้วยน้ำปูนสีเหลืองเสียหมดแล้ว

ยังเห็นเป็นรอยเลือนลางได้บางแห่ง แต่น้อยเต็มที ปัจจุบันได้ใช้พระวิหารหลังนี้เป็น ศาลาการเปรียญ ของวัดด้วย พระประธานในพระวิหาร มีนามว่า “พระพุทธชัมภูนุทมหาบุรุษลักขณาอสีตยานุบพิตร” เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย หน้าตักกว้าง ๖ ศอก หล่อด้วยทองแดงปิดทอง พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้หล่อขึ้นในคราวเดียวกันกับ “พระพุทธตรีโลกเชษฐ์” พระประธานในพระอุโบสถวัดสุทัศเทพวราราม เมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๙๖ ทางวัดได้พบพระบรมธาตุ ๔ องค์บรรจุอยู่ในโกศ ๓ ชั้น อยู่ในพระเศียร

ที่ฐานชุกชีด้านหน้า พระพุทธชัมภูนุทมหาบุรุษลักขณาอสีตยานุบพิตร ได้ประดิษฐาน “พระอรุณ” หรือ “พระแจ้ง” พระพุทธรูปปางมารวิชัย หล่อด้วยสำริด ศิลปะล้านช้าง หน้าตักกว้าง ๕๐ เซนติเมตร ซึ่งองค์พระพุทธรูปและผ้าทรงครองได้หล่อด้วยทองต่างสีกัน ตามประวัติกล่าวว่า เมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๐๑ ในสมัย รัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญพระอรุณหรือพระแจ้งมาจากเมืองเวียงจันทน์ โดยมีพระราชประสงค์จะอัญเชิญมาประดิษฐานในพระบรมมหาราชวัง แต่ภายหลังพระองค์ได้มีพระราชดำริที่จะย้ายพระอรุณหรือพระแจ้งมาประดิษฐาน ณ วัดอรุณราชวราราม แทน ด้วยเหตุที่นามพระพุทธรูปพ้องกับชื่อวัด

ดังปรากฏหลักฐานจากพระราชหัตถเลขาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถึงพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระอนุชาธิราชในรัชกาลที่ ๔ เมื่อปีมะเมีย จุลศักราช ๑๒๒๐ (พุทธศักราช ๒๔๐๑) ความตอนหนึ่งว่า“...ยังมีพระที่มีชื่อเอามาแต่เมืองเวียงจันทน์อีกสองพระองค์ พระอินแปลงน่าตัก ๒ ศอกเศษ พระอรุณน่าตักศอกเศษ...พระอรุณนั้น ฉันคิดว่าจะเชิญลงมาไว้ในพระวิหารวัดอรุณ เพราะชื่อวัดกับชื่อพระต้องกัน สมควรแต่จะให้จัดแจงที่ฐานเสียให้เสร็จก่อน แล้วจึงจะเชิญลงมาต่อน่าน้ำ...” จากพระราชดำริดังกล่าว

ในเวลาต่อมาจึงโปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญ พระอรุณหรือพระแจ้งมาประดิษฐานในพระวิหารวัดอรุณราชวราราม โดยโปรดให้ประดิษฐานอยู่บนฐานชุกชี ด้านหน้าพระพุทธชัมภูนุทฯ ซึ่งเป็นพระประธานในพระวิหาร นับแต่นั้นมาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน ช่วงวันสงกรานต์ของทุกปี ในวันที่ ๑๒ เมษายน วัดอรุณราชวรารามจะอัญเชิญพระอรุณองค์จำลองแห่เวียน ตั้งแต่ถนนอรุณอมรินทร์ไปจนถึงถนนอิสรภาพ และในวันที่ ๑๓ เมษายน จะอัญเชิญพระอรุณองค์จำลองออกมาให้ประชาชนสรงน้ำพระเป็นประจำทุกปี
[[ไฟล์:Www004.jpg|thumb|พระอรุณหรือพระแจ้ง วัดอรุณราชวราราม]]
<br />

==== พระอรุณหรือพระแจ้ง วัดอรุณราชวราราม<ref>https://historyoftemples.kachon.com/353485</ref> ====
ที่ฐานชุกชีด้านหน้า พระพุทธชัมภูนุทมหาบุรุษลักขณาอสีตยานุบพิตร พระประธานในพระวิหาร วัดอรุณราชวรารามได้ประดิษฐาน “พระอรุณ” หรือ “พระแจ้ง” พระพุทธรูปปางมารวิชัย หล่อด้วยสำริด ศิลปะล้านช้าง หน้าตักกว้าง ๕๐ เซนติเมตร ซึ่งองค์พระพุทธรูปและผ้าทรงครองได้หล่อด้วยทองต่างสีกัน ตามประวัติกล่าวว่า เมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๐๑ ในสมัย รัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญพระอรุณหรือพระแจ้งมาจากเมืองเวียงจันทน์ โดยมีพระราชประสงค์จะอัญเชิญมาประดิษฐานในพระบรมมหาราชวัง แต่ภายหลังพระองค์ได้มีพระราชดำริที่จะย้ายพระอรุณหรือพระแจ้งมาประดิษฐาน ณ วัดอรุณราชวราราม แทน ด้วยเหตุที่นามพระพุทธรูปพ้องกับชื่อวัด ดังปรากฏหลักฐานจากพระราชหัตถเลขาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ถึงพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระอนุชาธิราชในรัชกาลที่ ๔ เมื่อปีมะเมีย จุลศักราช ๑๒๒๐ (พุทธศักราช ๒๔๐๑)

ความตอนหนึ่งว่า“...ยังมีพระที่มีชื่อเอามาแต่เมืองเวียงจันทน์อีกสองพระองค์ พระอินแปลงน่าตัก ๒ ศอกเศษ พระอรุณน่าตักศอกเศษ...พระอรุณนั้น ฉันคิดว่าจะเชิญลงมาไว้ในพระวิหารวัดอรุณ เพราะชื่อวัดกับชื่อพระต้องกัน สมควรแต่จะให้จัดแจงที่ฐานเสียให้เสร็จก่อน แล้วจึงจะเชิญลงมาต่อน่าน้ำ...” จากพระราชดำริดังกล่าว ในเวลาต่อมาจึงโปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญ พระอรุณหรือพระแจ้งมาประดิษฐานในพระวิหารวัดอรุณราชวราราม โดยโปรดให้ประดิษฐานอยู่บนฐานชุกชี ด้านหน้าพระพุทธชัมภูนุทฯ ซึ่งเป็นพระประธานในพระวิหาร นับแต่นั้นมาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน ช่วงวันสงกรานต์ของทุกปี ในวันที่ ๑๒ เมษายน วัดอรุณราชวรารามจะอัญเชิญพระอรุณองค์จำลองแห่เวียน ตั้งแต่ถนนอรุณอมรินทร์ไปจนถึงถนนอิสรภาพ และในวันที่ ๑๓ เมษายน จะอัญเชิญพระอรุณองค์จำลองออกมาให้ประชาชนสรงน้ำพระเป็นประจำทุกปี
[[ไฟล์:Www005.jpg|thumb|พระวิหารน้อยพระเจดีย์มหาจุฬามณี วัดอรุณราชวราราม]]
<br />
==== พระวิหารน้อยพระเจดีย์มหาจุฬามณี วัดอรุณราชวราราม<ref>https://historyoftemples.kachon.com/353488</ref> ====
พระวิหารน้อยมหาจุฬามณีของวัดอรุณราชวราราม มหาวรวิหาร ซึ่งมีประวัติความเป็นมาที่น่าสนใจเป็นอย่างยิ่ง ตัวพระวิหารตั้งอยู่หน้าพระปรางค์ทางด้านทิศใต้ซ้ายมือเมื่อเราหันหน้าจะเข้าประปรางค์วัดอรุณ เป็นวิหารเดิมที่มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา ปัจจุบันเป็นที่ประดิษฐานของพระมหาจุฬามณีเจดีย์ ซึ่งเป็นพระสถูปขนาดใหญ่หล่อด้วยโลหะ มีรูปท้าวจตุโลกบาลยืนเฝ้าพระเจดีย์อยู่ทั้ง 4 มุม พระวิหารน้อยแห่งนี้ในสมัยโบราณชาวบ้านในละแวกนี้จะเรียกขานกันว่าโรงพระแก้ว เพราะเคยเป็นที่ประดิษฐานขององค์พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรหรือพระแก้วมรกต เมื่อครั้งอัญเชิญมาจากนครเวียงจันทร์ในครั้งแรกในสมัยกรุงธนบุรี พระเจดีย์มหาจุฬามณีนี้ถูกสร้างขึ้นเพื่อมาตั้งบูชาแทน พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรหรือพระแก้วมรกต ณ วิหารน้อยแห่งนี้ หลังจากย้ายพระแก้วมรกตไปประดิษฐานที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง ฝั่งพระนคร วิหารน้อยแห่งนี้จึงมีการสร้างพระเจดีย์มหาจุฬามณีเอาไว้แทนที่ต่อมาจนปัจจุบัน

ภายในพระเจดีย์มหาจุฬามณีองค์นี้ในครั้งแรกนั้นได้มีการบรรจุพระทันตธาตุ(ฟัน)ของพระพุทธเจ้าเอาไว้ และต่อมาก็ได้มีการบรรจุพระเกศาธาตุ(ผม)ของพระพุทธเจ้าเพิ่มเอาไว้อีกด้วย จึงนับว่าพระวิหารน้อยมหาจุฬามณีของวัดอรุณราชวราราม มหาวรวิหารแห่งนี้นั้น เป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์อย่างยิ่งสำหรับชาวพุทธทุกคน สมควรเป็นอย่างยิ่งที่พวกเราชาวพุทธต้องหาโอกาสมากราบนมัสการพระเจดีย์มหาจุฬามณีที่วัดอรุณแห่งนี้เพื่อความเป็นศิริมงคลแก่ชีวิตของตนเอง พระเจดีย์มหาจุฬามณีเป็นพระเจดีย์ทรงย่อมุมไม้สิบสอง เป็นศิลปกรรมสมัยอยุธยา เราจะเห็นได้ว่าตัวพระเจดีย์ และท้าวจตุโลกบาลทั้งสี่ทิศมีความงดงามด้วยฝีมือช่างอย่างที่สุด เป็นศิลปะกรรมชั้นสูงที่ยังคงความสมบูรณ์และถ่ายทอดเรื่องราวจากอดีตได้อย่างสมบูรณ์แบบ ซึ่งหาชมไม่ได้ง่ายเลยในยุคปัจจุบันนี้
<br />
[[ไฟล์:Www008.jpg|thumb|โบสถ์น้อย วัดอรุณราชวราราม]]

==== โบสถ์น้อย วัดอรุณราชวราราม<ref>https://historyoftemples.kachon.com/353537</ref> ====
โบสถ์น้อย วัดอรุณราชวราราม อยู่หน้าพระปรางค์ ด้านเหนือซุ้มประตูพระเกี้ยว เป็นโบสถ์เดิมของวัดที่สร้างขึ้นในสมัยอยุธยาคู่กับพระปรางค์องค์เดิม เป็นรูปทรงเตี้ย มีมุขทั้งด้านหน้าด้านหลัง ที่หน้าบันทำเป็นลายกระหนกปิดทองประดับกระจก ไม่มีกำแพงแก้ว(ของเดิมจะมีหรือเปล่า ไม่ปรากฏหลักฐาน) มุขด้านหน้าปูพื้นด้วยกระเบื้องซีเมนต์ ปล่อยว่าง ที่ผนังด้านนอกหน้าโบสถ์ ตรงกลางเจาะเป็นรูใส่ถ้วยกระเบื้องกลมๆ สมัยเก่าไว้รวม ๙ รู เรียงเป็นแถว ๓ แถว แถวละ ๓ รูป เล่ากันว่าเป็นปริศนาลายแทงว่า “วัดอรุณมี ๙ รู” เดิมโบกปูนทับไว้ทั้งหมด แต่เมื่อซ่อมใหม่จึงได้พบมุขหลังประดิษฐานพระกัจจายน์ หน้าตักกว้าง ๒ ศอก เป็นพระลงรักปิดทอง มีประตู ๔ ประตู ด้านหน้า ๒ ประตู และด้านหลัง ๒ ประตู ที่บานประตูด้านนอกเป็นลายรดน้ำรูปทหาร และมีรูปดอกไม้ประดับ ด้านในเป็นภาพเขียนสีเทวดาแบบทวารบาลทุกบาน หน้าต่างมีข้างละ ๖ ช่อง ด้านนอกเป็นลายรดน้ำรูปดอกไม้ ด้านในเป็นภาพสีรูปฉัตรเบญจาและดอกไม้ร่วงเหมือนกันทุกบาน

ภายในโบสถ์มีฐานชุกชี ประดิษฐานพระพุทธรูปเป็นจำนวนถึง ๒๙ องค์ เป็นพระพุทธรูปนั่งบ้างยืนบ้าง ที่ชำรุดหักพังเสียก็หลายองค์ พระประธานเป็นพระปูนปั้นปางมารวิชัยลงรักปิดทอง เหตุที่มีพระพุทธรูปในนี้มาก สันนิษฐานกันว่า ได้ย้ายออกมาจากวิหารน้อยหลังใต้แล้วเอามารวมประดิษฐานไว้ที่นี่ ภายหลังทางวัดขนเอามาจากที่อื่นอีก เช่น ที่ศาลาการเปรียญหลังเก่าที่รื้อไปแล้ว เป็นต้น หน้าฐานชุกชีทำเป็นลับแลก่ออิฐถือปูน มีพระแท่นของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีประทับ เป็นไม้กระดานแผ่นเดียว กว้าง ๑๗ นิ้วฟุต ยาว ๑๒๐ นิ้วฟุต ตั้งอยู่

ตามพระราชพงศาวดารกล่าวว่า สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี เมื่อจวนจะสิ้นรัชกาล ได้ทรงผนวชและเสด็จมาประทับ ณ โบสถ์นี้ บนพระแท่นมีที่บรรทมตั้งซ้อนอยู่ สืบได้ความว่า เดิมที่บรรทมนี้อยู่ที่อื่น แล้วนำมาตั้งซ้อนไว้ มีพระบรมรูปหล่อของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ทรงเครื่องพระมหากษัตริย์ประทับห้อยพระบาทประดิษฐานอยู่ด้วย ทางวัดแจ้งว่าพระเดชพระคุณพระราชวิสุทธิญาณ(อยู่) ขณะมีสมณศักดิ์เป็นพระศากยบุตติยวงศ์ รักษาการเจ้าอาวาส ให้ช่างหล่อขึ้นเมื่อ พ.ศ.๒๔๘๙ ทางด้านใต้พระแท่น มีศาลสถิตดวงพระวิญญาณของพระองค์ท่าน สร้างขึ้นพร้อมกับพระบรมรูปหล่อ[[ไฟล์:PH (215).jpg|thumb|พระป้ายสถิตดวงพระวิญญาณสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช วัดอรุณราชวราราม]]
<br />

==== พระป้ายสถิตดวงพระวิญญาณสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช วัดอรุณราชวราราม<ref>https://historyoftemples.kachon.com/353913</ref> ====
เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2561 คณะกรรมการจัดงานศาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชชาววัดอรุณ ได้ร่วมกันจัดสร้างพระป้ายสถิตดวงพระวิญญาณสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ภาษาจีนอ่านว่า แต้อ๊วง-ไต้ตี่-ตากสิน-อุ่ย แปลเป็นภาษาไทยว่า ป้ายสถิตดวงพระวิญญาณสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ป้ายสถิตดวงพระวิญญาณเพื่อการเทิดทูลในคุณงามความดีขององค์พระมหาวีรบุรุษไทย สร้างขึ้นเพื่อให้เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เป็นสิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจของพวกเราลูกหลานชาวไทย

สร้างขึ้นเพื่อเป็นการเทิดทูลในคุณงามความดีขององค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ที่พระองค์ท่านได้ทรงเสียสละแรงกายแรงใจ เพื่อกอบกู้เอกราชให้พวกเราคนไทยได้มีแผ่นดินอยู่ตราบเท่าทุกวันนี้ โดยได้จัดสร้างขึ้นจำนวน 2 พระป้าย เพื่อประดิษฐานไว้ ณ ศาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชชาววัดอรุณ เพื่ออัญเชิญออกในพิธีต่างๆที่ทางศาลได้จัดขึ้นเพื่อเทิดพระเกียรติในพระองค์ และอีกหนึ่งพระป้ายได้ร่วมกันจัดริ้วขบวนแห่อย่างยิ่งใหญ่อัญไปประดิษฐาน ณ พระวิหารน้อยหน้าพระปรางค์วัดอรุณ ที่ประดิษฐานพระรูปพระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช วัดอรุณราชวราราม เพื่อให้พี่น้องชาวไทยได้สักการะบูชาในพระองค์ท่าน
[[ไฟล์:Www001.jpg|thumb|ภาพเหมือนพระพิมลธรรม(นาค สุมนฺนาโค)]]
<br />

===== ภาพเหมือนพระพิมลธรรม(นาค สุมนฺนาโค)<ref>https://sacred.kachon.com/353985</ref> =====
คณะกรรมการจัดงานแห่องค์พระรูปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชชาววัดอรุณ ประจำปี 2563 ได้ร่วมกันจัดสร้าง ภาพวาดสีน้ำมันจำลองสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชชาววัดอรุณ ขนาดA4 จำนวนการจัดสร้าง 30,000 ภาพ เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติในพระองค์ท่าน และร่วมกันจัดสร้าง ภาพเหมือนพระพิมลธรรม(นาค สุมนฺนาโค) เจ้าตำหรับตะกรุดหนังหน้าผากเสือ ขนาดA4 จำนวนการจัดสร้าง 30,000 ภาพ เพื่อระลึกและเชิดชูเกียรติคุณงามความดีขององค์ หลวงปู่นาค สุมนฺนาโค(พระพิมลธรรม) อดีตเจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม รูปที่ ๑๐
[[ไฟล์:Www007.jpg|thumb|พิธีพุทธาภิเษก ภาพเหมือนพระพิมลธรรม(นาค สุมนฺนาโค) ณ พระวิหารวัดอรุณราชวราราม โดยคณะสงฆ์วัดอรุณราชวราราม เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2563]]
น้อมถวายแด่พระเดชพระคุณหลวงพ่อ พระธรรมรัตนดิลก กรรมการมหาเถรสมาคม เจ้าคณะภาค9 เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม เนื่องในวาระโอกาสที่พระเดชพระคุณหลวงพ่อ พระธรรมรัตนดิลก เจ้าอาวาสวัดอรุณราชวราราม ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯจาก พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๑๐ พระราชทานสถาปนาเลื่อนสมณศักดิ์ในชั้นธรรม และยังได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งให้เป็นหนึ่งในกรรมการมหาเถรสมาคม เมื่อวันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๖๒ จัดให้มีพิธีพุทธาภิเษก ณ พระวิหารวัดอรุณราชวราราม โดยคณะสงฆ์วัดอรุณราชวราราม เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2563

==== ยักษ์วัดแจ้ง หรือ รูปยักษ์ยืน วัดอรุณราชวราราม<ref>https://historyoftemples.kachon.com/353538</ref> ====
ยักษ์วัดแจ้ง หรือ รูปยักษ์ยืน วัดอรุณราชวราราม ที่หน้าประตูซุ้มยอดมงกุฎมี ๒ ตน มือทั้งสองกุมกระบอง ยืนอยู่บนแท่น สูงประมาณ ๓ วา ยักษ์ที่ยืนด้านเหนือ(ตัวขาว) คือ สหัสเดชะ ส่วนด้านใต้(ตัวเขียว) คือ ทศกัณฐ์ ปั้นด้วยปูน ประดับกระเบื้องเคลือบสีเป็นลวดลายรูปลักษณะและเครื่องแต่งตัว รูปยักษ์คู่นี้เป็นของทำขึ้นใหม่ (ใบฎีกาบอกบุญนี้ ยังมีอยู่ในแฟ้มเอกสาร วัดอรุณฯ ๑๘ แผนกเอกสารสำคัญ กองจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร) ที่ทำไว้เก่าในสมัยรัชกาลที่ ๓ นั้นเป็นฝีมือหลวงเทพ(กัน) สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ ตรัสว่า  “หลวงเทพ ที่ปั้นยักษ์วัดอรุณคู่ที่พังเสียแล้ว เรียกว่าหลวงเทพกัน มีชื่อเดิมติด” และเรื่องหลวงเทพ(กัน)นี้

สมเด็จเจ้าฟ้าพระองค์นี้ ได้ทรงอธิบายถวายสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพไว้ว่า “ยักษ์วัดแจ้งนั้นเขาพูดถึงของเดิมว่าเป็นฝีมือ “หลวงเทพกัน” คำที่ว่า “หลวงเทพฯ นั้น จะเป็นหลวงเทพรจนาหรือหลวงเทพยนต์อะไรก็ไม่ทราบ” แต่คำว่า “กัน” นั้นเป็นชื่อตัวแน่ เพราะฝีมือแกดีจึงโปรดให้ปั้นไว้ รูปเก่านั้นพังไปเสียแล้ว ที่ยืนอยู่บัดนี้เป็นของใหม่ แต่ใหม่ก่อนท่านเจ้าคุณนาค ไปอยู่เป็นแน่ เข้าใจว่ายักษ์วัดแจ้งนั้นแหละพาให้เกิดยักษ์ในวัดพระแก้วขึ้น ในที่สุดยักษ์ก็ “ต้องมี” ที่ “ต้องมี” นั้น จ้างเจ๊กทำก็ได้  เพราะราคาค่อยถูกหน่อย นี่ว่าถึงวัดพระแก้ว แต่ยักษ์คู่ใหม่ที่วัดแจ้งนั้นไม่ทราบ เกล้ากระหม่อม เห็นว่าถ้าหาช่างฝีมือดีปั้นไม่ได้ ไม่ต้องมียักษ์ก็ได้ และว่า “ยักษ์วัดพระแก้วนั้นคงทำขึ้นในรัชกาลที่ ๓ เป็นประเดิม เพราะจำได้ว่าคู่ทศกัณฐ์กับสหัสเดชะนั้น เป็นฝีมือหลวงเทพรจนา (กัน) คือมือที่ปั้นยักษ์วัดอรุณ สันนิษฐานว่าเพราะเวลานั้นมีช่างปั้นฝีมือดีๆ จึ่งให้ทำขึ้นไว้”

เรื่องรูปยักษ์คู่ที่ไม่ใช่ของเก่านั้น พระเดชพระคุณพระเทพมุนี(เจียร ปภสฺสโร) อดีตเจ้าอาวาสองค์ที่ ๑๒ ได้บันทึกเรื่องยักษ์ล้มไว้เป็นใจความว่า “วันที่ ๒๔ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๗๓ ตรงกับ ๑ฯ๑๑๐ ปีมะเมีย โทศก จุลศักราช ๑๒๙๒ กลางคืนฝนตกหนัก อสุนีบาตตกถูกยักษ์หน้าพระอุโบสถด้านเหนือ(สหัสเดชะ) พังลงมาต้องสร้างใหม่” เวลาที่รูปยักษ์ล้มนี้ พระเดชพระคุณพระพิมลธรรม(นาค) เป็นเจ้าอาวาส ความจริงรูปยักษ์คู่นี้ เคยซ่อมมาหลายครั้งแล้ว ดังปรากฏในรายงานมรรคนายก เมื่อ พ.ศ.๒๔๕๕ ก็มีรายการซ่อมยักษ์และใน พ.ศ.๒๔๕๖ ก็ซ่อมแขนยักษ์อีก ส่วนที่ซ่อมและสร้างใหม่นี้ สืบไม่ได้ว่าใครเป็นผู้ซ่อม ข้างยักษ์ตัวด้านเหนือ มีสิงโตหิน ๓ ตัว และข้างตัวด้านใต้มีสิงโตหินอีก ๓ ตัว เช่นเดียวกัน<br />
== ลำดับเจ้าอาวาส ==
== ลำดับเจ้าอาวาส ==
นับแต่สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ วัดอรุณราชวรารามมีเจ้าอาวาสสืบลำดับมา ดังนี้
นับแต่สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ วัดอรุณราชวรารามมีเจ้าอาวาสสืบลำดับมา ดังนี้

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:31, 20 มิถุนายน 2563

วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
แผนที่
ชื่อสามัญวัดอรุณ หรือวัดแจ้ง
ที่ตั้ง34 ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงวัดอรุณ
เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร ไทย ประเทศไทย 10600
ประเภทพระอารามหลวงชั้นเอก
ชนิดราชวรมหาวิหาร[1]
นิกายเถรวาท มหานิกาย
พระประธานพระพุทธธรรมมิศราชโลกธาตุดิลก
พระพุทธรูปสำคัญพระพุทธชัมพูนุช พระแจ้ง พระพุทธนฤมิตร
ความพิเศษวัดประจำรัชกาลที่ 2
จุดสนใจพระพุทธชัมพูนุช พระจุฬามณี
กิจกรรม9 วันหลังออกพรรษา
ประเพณีทอดผ้าพระกฐิน พระราชทาน
เว็บไซต์https://www.watarun1.com
พระพุทธศาสนา ส่วนหนึ่งของสารานุกรมพระพุทธศาสนา
แผนที่
แผนที่

วัดอรุณราชวราราม หรือที่นิยมเรียกกันในภาษาพูดว่า วัดแจ้ง หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า วัดอรุณ เป็นวัดโบราณ สร้างในสมัยอยุธยา ที่ชื่อวัดแจ้ง เพราะ พระเจ้าตากฯ ทำศึกเสร็จ แล้วยกทัพกลับมาเป็นเวลาเช้าพอดี ว่ากันว่าเดิมเรียกว่า วัดมะกอก และกลายเป็นวัดมะกอกนอกในเวลาต่อมา เพราะได้มีการสร้างวัดขึ้นอีกวัดหนึ่งในตำบลเดียวกัน แต่อยู่ในคลองบางกอกใหญ่ ชาวบ้านเรียกวัดที่สร้างใหม่ว่า วัดมะกอกใน (วัดนวลนรดิศ) แล้วจึงเรียกวัดมะกอกซึ่งอยู่ปากคลองบางกอกใหญ่ว่า วัดมะกอกนอก ส่วนเหตุที่มีการเปลี่ยนชื่อเป็นวัดแจ้งนั้น เชื่อกันว่า เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงตั้งราชธานีที่กรุงธนบุรีใน พ.ศ. 2310 ได้เสด็จมาถึงหน้าวัดนี้ตอนรุ่งแจ้ง จึงพระราชทานชื่อใหม่ว่าวัดแจ้ง แต่ความเชื่อนี้ไม่ถูกต้อง เพราะเพลงยาวหม่อมภิมเสน วรรณกรรมสมัยอยุธยาที่บรรยายการเดินทางจากอยุธยาไปยังเพชรบุรี ได้ระบุชื่อวัดนี้ไว้ว่าชื่อวัดแจ้งตั้งแต่เวลานั้นแล้ว

เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวังที่ประทับนั้น ทรงเอาป้อมวิชัยประสิทธิ์ข้างฝั่งตะวันตกเป็นที่ตั้งตัวพระราชวัง แล้วขยายเขตพระราชฐานจนวัดแจ้งเป็นวัดภายในพระราชวัง เช่นเดียวกับวัดพระศรีสรรเพชญ์สมัยอยุธยา และเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรที่อัญเชิญมาจากเวียงจันทน์ใน พ.ศ. 2322 ก่อนที่จะย้ายมาประดิษฐานที่วัดพระศรีรัตนศาสดารามในปี พ.ศ. 2327

ในสมัยรัตนโกสินทร์ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร ได้เสด็จมาประทับที่พระราชวังเดิม และได้ทรงปฏิสังขรณ์วัดแจ้งใหม่ทั้งวัด แต่ยังไม่ทันสำเร็จก็สิ้นรัชกาลที่ 1 สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทรได้เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พระองค์ได้ทรงบูรณปฏิสังขรณ์วัดแจ้งต่อมา และพระราชทานนามใหม่ว่า “วัดอรุณราชธาราม” ต่อมามีพระราชดำริที่จะเสริมสร้างพระปรางค์หน้าวัดให้สูงขึ้น แต่สิ้นรัชกาลเสียก่อน จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้เสริมพระปรางค์ขึ้นและให้ยืมมงกุฎที่หล่อสำหรับพระพุทธรูปทรงเครื่องที่จะเป็นพระประธานวัดนางนองมาติดต่อบนยอดนภศูล ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้บูรณปฏิสังขรณ์วัดอรุณราชธารามหลายรายการ และให้อัญเชิญพระบรมอัฐิของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมาบรรจุไว้ที่พระพุทธอาสน์ของพระประธานในพระอุโบสถด้วย เมื่อการปฏิสังขรณ์เสร็จสิ้นลง พระราชทานนามวัดใหม่ว่า “วัดอรุณราชวราราม”

ลำดับเจ้าอาวาส

นับแต่สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ วัดอรุณราชวรารามมีเจ้าอาวาสสืบลำดับมา ดังนี้

ลำดับที่ รายนาม เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 พระโพธิวงศาจารย์ ? ?
2 พระธรรมไตรโลกาจารย์ ? ?
3 พระพุทธโฆษาจารย์ (คง) พ.ศ. 2362 ?
4 สมเด็จพระวันรัต (เซ่ง) ? พ.ศ. 2419
5 พระธรรมไตรโลกาจารย์ (ทอง) พ.ศ. 2419 พ.ศ. 2424
6 พระเทพโมลี (ฑิต อุทโย) พ.ศ. 2424 พ.ศ. 2431
7 พระราชมุนี (ปุ่น ปุณฺณโก) พ.ศ. 2438 พ.ศ. 2441
8 สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฤทธิ์ ธมฺมสิริ) พ.ศ. 2444 พ.ศ. 2456
9 พระธรรมเจดีย์ (อุ่ม ธมฺมธโร) พ.ศ. 2456 ?
10 พระพิมลธรรม (นาค สุมนนาโค) พ.ศ. 2468 พ.ศ. 2488
11 สมเด็จพระพุฒาจารย์ (วน ฐิติญาโณ) พ.ศ. 2489 พ.ศ. 2520
12 พระธรรมคุณาภรณ์ (เจียร ปภสฺสโร) พ.ศ. 2520 พ.ศ. 2524
13 พระธรรมสิริชัย (บุญเลิศ โฆสโก) พ.ศ. 2525 พ.ศ. 2551
14 พระธรรมมงคลเจดีย์ (เฉลียว ฐิตปุญฺโญ) พ.ศ. 2552 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
15 พระธรรมรัตนดิลก (สมเกียรติ โกวิโท) 20 มิถุนายน พ.ศ. 2561 ปัจจุบัน

ระเบียงภาพ

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

13°44′37″N 100°29′20″E / 13.743710°N 100.488966°E / 13.743710; 100.488966