ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฤดูฝน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Armonthap (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
LuporumĀter (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเติมเนื้อหาบทความ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{สั้นมาก}}
{{สั้นมาก}}
[[ไฟล์:Darwin 1824.jpg|thumb|พายุฤดูฝนในเมืองดาร์วิน ประเทศออสเตรเลีย]]
{{สภาพอากาศ}}
{{สภาพอากาศ}}
[[ไฟล์:Darwin 1824.jpg|thumb|พายุฤดูฝนในเมืองดาร์วิน ประเทศออสเตรเลีย]]
'''ฤดูฝน''' หรือ '''วัสสานฤดู''' เป็นฤดูกาลที่มีฝนตกตลอดทั้งเดือน ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในช่วงเดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนตุลาคมของ [[ประเทศไทย]] และจะเกิดมากที่สุดในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และฤดูฝนยังทำให้ต้นไม้เจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและยังช่วยขจัดสิ่งสกปรกและฝุ่นละอองภายในอากาศด้วย ฝนนั้นเกิดจาก[[การควบแน่น]] ของก๊าซและกลายเป็นของเหลวตกลงมาซึ่งฤดูฝนมีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตในโลกเป็นอย่างมาก และยังช่วยเพิ่มปริมาณน้ำให้มากขึ้นอีกด้วย
'''ฤดูฝน''' หรือ '''วัสสานฤดู''' เป็นเป็นช่วงที่มีปริมาณฝนโดยเฉลี่ยตลอดทั้งเดือนเกินกว่า 60 มิลลิเมตร มากกว่า 1 เดือนขึ้นไป<ref>{{cite web|url=https://www.hydrol-earth-syst-sci.net/11/1633/2007/hess-11-1633-2007.pdf|title=Updated world map of the K ̈oppen-Geiger climate classification|publisher=Hydrology and Earth System Sciences|author=M. C. Peel |accessdate=19 มิถุนายน 2563}}</ref> และมีปริมาณฝนโดยรวมสูงสุดของปี โดยส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในช่วงเดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนตุลาคมสำหรับในเขตซีกโลกเหนือ ซึ่งรวมถึง[[ประเทศไทย]] ฤดูฝนยังทำให้ต้นไม้เจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและยังช่วยขจัดสิ่งสกปรกและฝุ่นละอองภายในอากาศด้วย ฝนนั้นเกิดจาก[[การควบแน่น]] ของก๊าซและกลายเป็นของเหลวตกลงมาซึ่งฤดูฝนมีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตในโลกเป็นอย่างมาก และยังช่วยเพิ่มปริมาณน้ำให้มากขึ้นอีกด้วย
==ลักษณะ==
ฝนในฤดูฝนนั้น เกี่ยวข้องกับกระแสลมที่เรียกว่าลม[[มรสุม]] ซึ่งส่งผลต่อรูปแบบของการเกิดฝนของพื้นที่ใน[[เขตร้อน]]และ[[กึ่งเขตร้อน]] โดยฝนในฤดูฝนนี้ ส่วนมากมักจะตกในช่วงบ่ายแก่ๆถึงค่ำ<ref>{{cite web|url=https://www.gotoknow.org/posts/191815|title=022 ทำไมฝนชอบกระหน่ำหลังเลิกงาน?|author=บัญชา ธนบุญสมบัติ|accessdate=19 มิถุนายน 2563}}</ref> เนื่องมาจากแสงอาทิตย์ ที่ส่องในช่วงกลางวันทำให้พื้นดินร้อนขึ้น แล้วทำให้อากาศที่มีความชื้นสูงจากการพัดเอาความชื้นจาก[[ทะเลอันดามัน]]ของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้มาสู่ประเทศไทย ลอยตัวสูงขึ้นและก่อตัวเป็นเมฆใน[[ชั้นบรรยากาศ]]<ref>{{cite web|url=https://weather.rtaf.mi.th/observation/library_files/Read%20botkwam_Rain.html|title=ฝน หรือน้ำฝน (Rain)|publisher=กองข่าวอากาศ กรมควบคุมการปฏิบัติทางอากาศ|accessdate=19 มิถุนายน 2563}}</ref>ชั้น[[โทรโปสเฟียร์]]ช่วงบน ซึ่งมีอุณหภูมิต่ำ โดยจะมีการสะสมหยดน้ำไปเรื่อยๆ เมื่อสะสมจนถึงจุดหนึ่งที่บรรยากาศรับน้ำหนักไอน้ำไม่ไหว ก็จะตกลงมาเป็นฝน ซึ่งฝนชนิดนี้เรียกว่า ฝนที่เกิดจาก[[การพาความร้อน]] (convective rain) ซึ่งมักจะตกพอดีกับช่วงเย็น และมักมีการกระจายของฝนเป็นหย่อมๆไปทั่ว

นอกจากการพาความร้อนแล้ว ฝนในฤดูฝนยังสามารถมาจากการพาดผ่านของร่องความกดอากาศต่ำ (Low-pressure through) หรือชื่อทางวิชาการว่า [[แนวปะทะอากาศแห่งเขตร้อน]] (Intertropical Convergence Zone, ITCZ) <ref>{{cite web|url=https://www2.mtec.or.th/th/e-magazine/admin/upload/245_61-66.pdf|title=ฝนเอยทำไมถึงตก?|publisher=ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ|author=บัญชา ธนบุญสมบัติ|accessdate=19 มิถุนายน 2563}}</ref> ซึ่งเกิดจากการประทะหรือพัดสอบกันของ[[ลมค้า]]ตะวันออกเฉียงใต้จากซีกโลกใต้กับลมค้าตะวันออกเฉียงเหนือจากซีกโลกเหนือ ซึ่งทำให้เกิดการยกตัวของอากาศขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศจนเป็นสาเหตุให้เกิดฝนตกชุกในบริเวณที่มีการพาดผ่านของแนวร่องความกดอากาศต่ำนี้ สำหรับฝนชนิดนี้ มีชื่อเรียกว่า ฝนที่เกิดจากแนวปะทะอากาศแห่งเขตร้อน (Intertropical Convergence Zone Rain)<ref>{{cite web|url=https://www.lib.ru.ac.th/journal2/?p=3605|title=ฤดูกาล (Seasons)|publisher=สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยรามคำแหง|accessdate=19 มิถุนายน 2563}}</ref>

สำหรับในประเทศไทย การพาดผ่านของแนวร่องความกดอากาศต่ำนี้จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนในบริเวณภาคใต้ แล้วจึงเริ่มเกิดการเคลื่อนไปพาดในแถบภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือ ในเดือนพฤษภาคมและมิถุนายนตามลำดับ จากนั้น ประมาณปลายเดือนมิถุนายนจะเลื่อนขึ้นไปพาดผ่านบริเวณประเทศจีนตอนใต้ซึ่ง ทำให้ปริมาณฝนลดลงในช่วงดังกล่าว ซึ่งกินเวลาประมาณ 1-2 สัปดาห์ แต่บางครั้งก็อาจจะยาวนานถึง 1 เดือนได้ ซึ่งเรียกปรากฎการณ์นี้ว่าว่า ฝนทิ้งช่วง จากนั้นประมาณเดือนสิงหาคม ร่องความกดอากาศต่ำก็จะเริ่มเลื่อนลงมาพาดผ่านประเทศไทยอีกครั้ง ทำให้เกิดฝนตกชุกต่อเนื่องอีกครั้ง<ref>{{cite web|url=https://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=23|title=ฤดูกาลของประเทศไทย|publisher=กรมอุตุนิยมวิทยา|accessdate=19 มิถุนายน 2563}}</ref>

นอกจากนี้แล้ว พายุหมุนเขตร้อนก็ถือเป็นอีกหนึ่งปัจจัยในการก่อฝนในฤดูฝน โดยมักจะมีช่วงในการเกิดประมาณเดือนมิถุนายน-ธันวาคม ฝนที่เกิดจากพายุหมุนเขตร้อนนี้ จะมีลักษณะการตกเป็นบริเวณกว้างครอบคลุมบริเวณที่พายุเคลื่อนผ่าน ประกอบกับมีลมพัดแรงด้วย<ref>{{cite web|url=http://www.lesa.biz/earth/atmosphere/phenomenon/tropical-storm|title=พายุหมุนเขตร้อน|publisher=ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์|accessdate=19 มิถุนายน 2563}}</ref> อย่างไรก็ตาม ฝนในเขตใกล้เส้นศูนย์สูตร หรือในเขต[[ภูมิอากาศแบบป่าดิบชื้น]] จะมีปริมาณฝนในแต่ละเดือนที่สม่ำเสมอตลอดทั้งปี<ref>{{cite web|url=http://www.satit.up.ac.th/BBC07/AroundTheWorld/geo/86.htm|title=เขตภูมิอากาศของโลก|publisher=โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา|accessdate=19 มิถุนายน 2563}}</ref>
==ผลกระทบ==
ในด้าน[[การเกษตร]] การเพาะปลูกจะให้ผลดีเป็นอย่างมากเนื่องมาจากปริมาณฝนที่มาก<ref>{{cite web|url=http://www.arcims.tmd.go.th/Research_files/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B9%8C%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9D%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B8%8A.pdf|title=ประโยชน์ของฝนที่มีต่อพืช|publisher=กรมอุตุนิยมวิทยา|accessdate=19 มิถุนายน 2563}}</ref> แต่ปริมาณการชะล้างหน้าดินก็เพิ่มขึ้นเช่นกัน ในแง่ของคุณภาพอากาศ ในฤดูฝนเป็นช่วงที่อากาศมีคุณภาพมากที่สุด <ref>Mei Zheng (2000). [http://digitalcommons.uri.edu/dissertations/AAI9989458/ The sources and characteristics of atmospheric particulates during the wet and dry seasons in Hong Kong.] University of Rhode Island. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2563.</ref> เนื่องจากการพัดผ่านของลมมรสุมและการชะล้างมลพิษในบรรยากาศจากการตกของฝน

การที่ฝนตกอย่างต่อเนื่องในฤดูฝน ทำให้เพิ่มโอกาสในการเกิด[[น้ำท่วมฉับพลัน]] น้ำป่าไหลหลาก และ[[ดินถล่ม]]ได้ อันเนื่องมาจากปริมาณน้ำที่มากขึ้นจนดินไม่สามารถอุ้มน้ำได้อีกต่อไป รวมทั้งการที่น้ำในแม่น้ำสูงจนเกินระดับตลิ่ง รวมทั้งการที่[[พายุหมุนเขตร้อน]]ขึ้นฝั่งก็สร้างความเสียหายอย่างมากแก่บริเวณที่พายุขึ้นฝั่งเช่นกัน<ref>{{cite web|url=https://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=70|title=อุทกภัย(Flood)|publisher=กรมอุตุนิยมวิทยา|accessdate=19 มิถุนายน 2563}}</ref>


{{ฤดู}}
{{ฤดู}}
[[หมวดหมู่:ฤดู|ฝน]]
[[หมวดหมู่:ฤดู|ฝน]]
[[หมวดหมู่:ฝน]]
[[หมวดหมู่:ฝน]]
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:35, 19 มิถุนายน 2563

พายุฤดูฝนในเมืองดาร์วิน ประเทศออสเตรเลีย

ฤดูฝน หรือ วัสสานฤดู เป็นเป็นช่วงที่มีปริมาณฝนโดยเฉลี่ยตลอดทั้งเดือนเกินกว่า 60 มิลลิเมตร มากกว่า 1 เดือนขึ้นไป[1] และมีปริมาณฝนโดยรวมสูงสุดของปี โดยส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในช่วงเดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนตุลาคมสำหรับในเขตซีกโลกเหนือ ซึ่งรวมถึงประเทศไทย ฤดูฝนยังทำให้ต้นไม้เจริญเติบโตอย่างรวดเร็วและยังช่วยขจัดสิ่งสกปรกและฝุ่นละอองภายในอากาศด้วย ฝนนั้นเกิดจากการควบแน่น ของก๊าซและกลายเป็นของเหลวตกลงมาซึ่งฤดูฝนมีความสำคัญต่อสิ่งมีชีวิตในโลกเป็นอย่างมาก และยังช่วยเพิ่มปริมาณน้ำให้มากขึ้นอีกด้วย

ลักษณะ

ฝนในฤดูฝนนั้น เกี่ยวข้องกับกระแสลมที่เรียกว่าลมมรสุม ซึ่งส่งผลต่อรูปแบบของการเกิดฝนของพื้นที่ในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน โดยฝนในฤดูฝนนี้ ส่วนมากมักจะตกในช่วงบ่ายแก่ๆถึงค่ำ[2] เนื่องมาจากแสงอาทิตย์ ที่ส่องในช่วงกลางวันทำให้พื้นดินร้อนขึ้น แล้วทำให้อากาศที่มีความชื้นสูงจากการพัดเอาความชื้นจากทะเลอันดามันของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้มาสู่ประเทศไทย ลอยตัวสูงขึ้นและก่อตัวเป็นเมฆในชั้นบรรยากาศ[3]ชั้นโทรโปสเฟียร์ช่วงบน ซึ่งมีอุณหภูมิต่ำ โดยจะมีการสะสมหยดน้ำไปเรื่อยๆ เมื่อสะสมจนถึงจุดหนึ่งที่บรรยากาศรับน้ำหนักไอน้ำไม่ไหว ก็จะตกลงมาเป็นฝน ซึ่งฝนชนิดนี้เรียกว่า ฝนที่เกิดจากการพาความร้อน (convective rain) ซึ่งมักจะตกพอดีกับช่วงเย็น และมักมีการกระจายของฝนเป็นหย่อมๆไปทั่ว

นอกจากการพาความร้อนแล้ว ฝนในฤดูฝนยังสามารถมาจากการพาดผ่านของร่องความกดอากาศต่ำ (Low-pressure through) หรือชื่อทางวิชาการว่า แนวปะทะอากาศแห่งเขตร้อน (Intertropical Convergence Zone, ITCZ) [4] ซึ่งเกิดจากการประทะหรือพัดสอบกันของลมค้าตะวันออกเฉียงใต้จากซีกโลกใต้กับลมค้าตะวันออกเฉียงเหนือจากซีกโลกเหนือ ซึ่งทำให้เกิดการยกตัวของอากาศขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศจนเป็นสาเหตุให้เกิดฝนตกชุกในบริเวณที่มีการพาดผ่านของแนวร่องความกดอากาศต่ำนี้ สำหรับฝนชนิดนี้ มีชื่อเรียกว่า ฝนที่เกิดจากแนวปะทะอากาศแห่งเขตร้อน (Intertropical Convergence Zone Rain)[5]

สำหรับในประเทศไทย การพาดผ่านของแนวร่องความกดอากาศต่ำนี้จะเริ่มประมาณเดือนเมษายนในบริเวณภาคใต้ แล้วจึงเริ่มเกิดการเคลื่อนไปพาดในแถบภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือ ในเดือนพฤษภาคมและมิถุนายนตามลำดับ จากนั้น ประมาณปลายเดือนมิถุนายนจะเลื่อนขึ้นไปพาดผ่านบริเวณประเทศจีนตอนใต้ซึ่ง ทำให้ปริมาณฝนลดลงในช่วงดังกล่าว ซึ่งกินเวลาประมาณ 1-2 สัปดาห์ แต่บางครั้งก็อาจจะยาวนานถึง 1 เดือนได้ ซึ่งเรียกปรากฎการณ์นี้ว่าว่า ฝนทิ้งช่วง จากนั้นประมาณเดือนสิงหาคม ร่องความกดอากาศต่ำก็จะเริ่มเลื่อนลงมาพาดผ่านประเทศไทยอีกครั้ง ทำให้เกิดฝนตกชุกต่อเนื่องอีกครั้ง[6]

นอกจากนี้แล้ว พายุหมุนเขตร้อนก็ถือเป็นอีกหนึ่งปัจจัยในการก่อฝนในฤดูฝน โดยมักจะมีช่วงในการเกิดประมาณเดือนมิถุนายน-ธันวาคม ฝนที่เกิดจากพายุหมุนเขตร้อนนี้ จะมีลักษณะการตกเป็นบริเวณกว้างครอบคลุมบริเวณที่พายุเคลื่อนผ่าน ประกอบกับมีลมพัดแรงด้วย[7] อย่างไรก็ตาม ฝนในเขตใกล้เส้นศูนย์สูตร หรือในเขตภูมิอากาศแบบป่าดิบชื้น จะมีปริมาณฝนในแต่ละเดือนที่สม่ำเสมอตลอดทั้งปี[8]

ผลกระทบ

ในด้านการเกษตร การเพาะปลูกจะให้ผลดีเป็นอย่างมากเนื่องมาจากปริมาณฝนที่มาก[9] แต่ปริมาณการชะล้างหน้าดินก็เพิ่มขึ้นเช่นกัน ในแง่ของคุณภาพอากาศ ในฤดูฝนเป็นช่วงที่อากาศมีคุณภาพมากที่สุด [10] เนื่องจากการพัดผ่านของลมมรสุมและการชะล้างมลพิษในบรรยากาศจากการตกของฝน

การที่ฝนตกอย่างต่อเนื่องในฤดูฝน ทำให้เพิ่มโอกาสในการเกิดน้ำท่วมฉับพลัน น้ำป่าไหลหลาก และดินถล่มได้ อันเนื่องมาจากปริมาณน้ำที่มากขึ้นจนดินไม่สามารถอุ้มน้ำได้อีกต่อไป รวมทั้งการที่น้ำในแม่น้ำสูงจนเกินระดับตลิ่ง รวมทั้งการที่พายุหมุนเขตร้อนขึ้นฝั่งก็สร้างความเสียหายอย่างมากแก่บริเวณที่พายุขึ้นฝั่งเช่นกัน[11]

อ้างอิง

  1. M. C. Peel. "Updated world map of the K ̈oppen-Geiger climate classification" (PDF). Hydrology and Earth System Sciences. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. บัญชา ธนบุญสมบัติ. "022 ทำไมฝนชอบกระหน่ำหลังเลิกงาน?". สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. "ฝน หรือน้ำฝน (Rain)". กองข่าวอากาศ กรมควบคุมการปฏิบัติทางอากาศ. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  4. บัญชา ธนบุญสมบัติ. "ฝนเอยทำไมถึงตก?" (PDF). ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  5. "ฤดูกาล (Seasons)". สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยรามคำแหง. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  6. "ฤดูกาลของประเทศไทย". กรมอุตุนิยมวิทยา. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  7. "พายุหมุนเขตร้อน". ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  8. "เขตภูมิอากาศของโลก". โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  9. "ประโยชน์ของฝนที่มีต่อพืช" (PDF). กรมอุตุนิยมวิทยา. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  10. Mei Zheng (2000). The sources and characteristics of atmospheric particulates during the wet and dry seasons in Hong Kong. University of Rhode Island. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2563.
  11. "อุทกภัย(Flood)". กรมอุตุนิยมวิทยา. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)