ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วงดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิกแห่งประเทศไทย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ย้ายป้ายโครงการวิกิประเทศไทยไปหน้าพูดคุย
Kataroek (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:

[[image:PTO.jpg|thumb|right|250px|'''วงดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิกแห่งประเทศไทย''' แสดงในหอแสดงดนตรี วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล (ศาลายา)]]
[[image:PTO.jpg|thumb|right|250px|'''วงดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิกแห่งประเทศไทย''' แสดงในหอแสดงดนตรี วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล (ศาลายา)]]


บรรทัด 7: บรรทัด 6:
ในด้านศักยภาพของมนุษย์ เพื่อพัฒนาศักยภาพความสามารถทางดนตรีของคนไทย ให้งอกงามสู่เป้าหมายสูงสุดของอาชีพ เพื่อใช้ศักยภาพ ผลงานภายในประเทศ และพัฒนาศักยภาพดนตรีส่งออกที่เหลือไว้ขายศักยภาพและความเป็นเลิศด้านดนตรีให้กับนานาชาติ เพราะศักยภาพและความเป็นเลิศด้านดนตรีเป็นทรัพยากรในตัวมนุษย์ ซึ่งหากยิ่งใช้ศักยภาพก็จะยิ่งมีขึ้น นอกจากนี้การจัดตั้งวงดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิกแห่งประเทศไทย ก็เพื่อสร้างเป้าหมายสูงสุดของการศึกษาดนตรีและอาชีพดนตรี เพื่อให้นักเรียนดนตรี คนรุ่นต่อไป และนักดนตรีอาชีพ ได้มีเป้าหมายที่ชัดเจน มีหลักชัย และมีความภาคภูมิใจในอาชีพ
ในด้านศักยภาพของมนุษย์ เพื่อพัฒนาศักยภาพความสามารถทางดนตรีของคนไทย ให้งอกงามสู่เป้าหมายสูงสุดของอาชีพ เพื่อใช้ศักยภาพ ผลงานภายในประเทศ และพัฒนาศักยภาพดนตรีส่งออกที่เหลือไว้ขายศักยภาพและความเป็นเลิศด้านดนตรีให้กับนานาชาติ เพราะศักยภาพและความเป็นเลิศด้านดนตรีเป็นทรัพยากรในตัวมนุษย์ ซึ่งหากยิ่งใช้ศักยภาพก็จะยิ่งมีขึ้น นอกจากนี้การจัดตั้งวงดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิกแห่งประเทศไทย ก็เพื่อสร้างเป้าหมายสูงสุดของการศึกษาดนตรีและอาชีพดนตรี เพื่อให้นักเรียนดนตรี คนรุ่นต่อไป และนักดนตรีอาชีพ ได้มีเป้าหมายที่ชัดเจน มีหลักชัย และมีความภาคภูมิใจในอาชีพ


นักดนตรีของวงดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิกแห่งประเทศไทย ประกอบด้วยอาจารย์ นักเรียน นักศึกษาของ [[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์]] [[มหาวิทยาลัยมหิดล]] เป็นหลัก ขณะเดียวกันก็เปิดโอกาสให้นักดนตรีที่มีความสามารถจากภายนอกเข้าร่วมด้วย วงดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิกแห่งประเทศไทย บริหารจัดการ ดูแลรับผิดชอบ และดำเนินงาน โดยวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ โดยมี [[สุกรี เจริญสุข|รศ.ดร.สุกรี เจริญสุข]] เป็น[[ผู้อำนวยการวงดนตรี]] ทั้งนี้ได้รับการสนับสนุนงบประมาณครึ่งหนึ่งจากรัฐบาล ส่วนงบประมาณอีกครึ่งหนึ่งเป็นความรับผิดชอบโดยวิทยาลัย สถานที่ฝึกซ้อมหรือสถานที่แสดงของวงนั้น ทางวิทยาลัยได้สร้างหอแสดงดนตรีขึ้นโดยเฉพาะ ขนาด 353 ที่นั่ง มีเวทีกว้างสำหรับวงดนตรีขนาดใหญ่ มีระบบเสียงที่สมบูรณ์ มีเก้าอี้นั่งที่สบาย สามารถบันทึกเสียงระหว่างการฝึกซ้อมหรือบันทึกเสียงในการบรรเลงได้
นักดนตรีของวงดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิกแห่งประเทศไทย ประกอบด้วยอาจารย์ นักเรียน นักศึกษาของ [[วิทยาลัยดุริยางคศิลป์]] [[มหาวิทยาลัยมหิดล]] เป็นหลัก ขณะเดียวกันก็เปิดโอกาสให้นักดนตรีที่มีความสามารถจากภายนอกเข้าร่วมด้วย วงดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิกแห่งประเทศไทย บริหารจัดการ ดูแลรับผิดชอบ และดำเนินงาน โดยวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ โดยมี [[สุกรี เจริญสุข|รศ.ดร.สุกรี เจริญสุข]] เป็น [[ผู้อำนวยการวงดนตรี]] ทั้งนี้ได้รับการสนับสนุนงบประมาณครึ่งหนึ่งจากรัฐบาล ส่วนงบประมาณอีกครึ่งหนึ่งเป็นความรับผิดชอบโดยวิทยาลัย สถานที่ฝึกซ้อมหรือสถานที่แสดงของวงนั้น ทางวิทยาลัยได้สร้างหอแสดงดนตรีขึ้นโดยเฉพาะ ขนาด 353 ที่นั่ง มีเวทีกว้างสำหรับวงดนตรีขนาดใหญ่ มีระบบเสียงที่สมบูรณ์ มีเก้าอี้นั่งที่สบาย สามารถบันทึกเสียงระหว่างการฝึกซ้อมหรือบันทึกเสียงในการบรรเลงได้


เป้าหมายของวงคือ เพื่อให้เป็นวงดนตรีของชาติ มีผลงานในระดับนานาชาติ สามารถเดินทางไปแสดงในนานาประเทศได้ โดยมีผู้ควบคุมวงดนตรีรับเชิญและนักดนตรีรับเชิญ (นักเดี่ยว) ในระดับนานาชาติเดินทางมาร่วมแสดง เพื่อการพัฒนาวงให้มีศักยภาพระดับนานาชาติ
เป้าหมายของวงคือ เพื่อให้เป็นวงดนตรีของชาติ มีผลงานในระดับนานาชาติ สามารถเดินทางไปแสดงในนานาประเทศได้ โดยมีผู้ควบคุมวงดนตรีรับเชิญและนักดนตรีรับเชิญ (นักเดี่ยว) ในระดับนานาชาติเดินทางมาร่วมแสดง เพื่อการพัฒนาวงให้มีศักยภาพระดับนานาชาติ

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.thailandphil.com เว็บไซต์ Thailand Philharmonic Orchestra]


[[หมวดหมู่:วงออร์เคสตรา]]
[[หมวดหมู่:วงออร์เคสตรา]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:36, 5 มกราคม 2551

วงดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิกแห่งประเทศไทย แสดงในหอแสดงดนตรี วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล (ศาลายา)

วงดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิกแห่งประเทศไทย (Thailand Philharmonic Orchestra; TPO) เป็นวงออร์เคสตร้าที่ได้ก่อตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดตั้งวงดุริยางค์มืออาชีพขึ้นในประเทศไทย เพื่อใช้บรรเลงรับในงานศิลปวัฒนธรรมระดับชาติและในกิจกรรมระดับนานาชาติ ตลอดจนสร้างคุณค่า รสนิยม พัฒนาศิลปวัฒนธรรม และรสนิยมของคนในชาติ ในด้านสังคม เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต พัฒนาฝีมือนักดนตรีของไทย คนในสังคมไทย สร้างความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการ และพัฒนาศักยภาพทางสมองของคนไทยโดยอาศัยดนตรี เพื่อถ่วงดุลการค้า ในการนำเข้านักดนตรี นักแสดง และวงดนตรีจากต่างประเทศ เปิดประเทศไทยเข้าสู่โลกใหม่ ในฐานะประเทศที่มีประชาคมได้รับการศึกษา มีฐานะทางเศรษฐกิจ และเป็นประเทศที่มีวัฒนธรรม สามารถที่จะพัฒนาอุตสาหกรรมดนตรีภายในประเทศ

ในด้านศักยภาพของมนุษย์ เพื่อพัฒนาศักยภาพความสามารถทางดนตรีของคนไทย ให้งอกงามสู่เป้าหมายสูงสุดของอาชีพ เพื่อใช้ศักยภาพ ผลงานภายในประเทศ และพัฒนาศักยภาพดนตรีส่งออกที่เหลือไว้ขายศักยภาพและความเป็นเลิศด้านดนตรีให้กับนานาชาติ เพราะศักยภาพและความเป็นเลิศด้านดนตรีเป็นทรัพยากรในตัวมนุษย์ ซึ่งหากยิ่งใช้ศักยภาพก็จะยิ่งมีขึ้น นอกจากนี้การจัดตั้งวงดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิกแห่งประเทศไทย ก็เพื่อสร้างเป้าหมายสูงสุดของการศึกษาดนตรีและอาชีพดนตรี เพื่อให้นักเรียนดนตรี คนรุ่นต่อไป และนักดนตรีอาชีพ ได้มีเป้าหมายที่ชัดเจน มีหลักชัย และมีความภาคภูมิใจในอาชีพ

นักดนตรีของวงดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิกแห่งประเทศไทย ประกอบด้วยอาจารย์ นักเรียน นักศึกษาของ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นหลัก ขณะเดียวกันก็เปิดโอกาสให้นักดนตรีที่มีความสามารถจากภายนอกเข้าร่วมด้วย วงดุริยางค์ฟีลฮาร์โมนิกแห่งประเทศไทย บริหารจัดการ ดูแลรับผิดชอบ และดำเนินงาน โดยวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ โดยมี รศ.ดร.สุกรี เจริญสุข เป็น ผู้อำนวยการวงดนตรี ทั้งนี้ได้รับการสนับสนุนงบประมาณครึ่งหนึ่งจากรัฐบาล ส่วนงบประมาณอีกครึ่งหนึ่งเป็นความรับผิดชอบโดยวิทยาลัย สถานที่ฝึกซ้อมหรือสถานที่แสดงของวงนั้น ทางวิทยาลัยได้สร้างหอแสดงดนตรีขึ้นโดยเฉพาะ ขนาด 353 ที่นั่ง มีเวทีกว้างสำหรับวงดนตรีขนาดใหญ่ มีระบบเสียงที่สมบูรณ์ มีเก้าอี้นั่งที่สบาย สามารถบันทึกเสียงระหว่างการฝึกซ้อมหรือบันทึกเสียงในการบรรเลงได้

เป้าหมายของวงคือ เพื่อให้เป็นวงดนตรีของชาติ มีผลงานในระดับนานาชาติ สามารถเดินทางไปแสดงในนานาประเทศได้ โดยมีผู้ควบคุมวงดนตรีรับเชิญและนักดนตรีรับเชิญ (นักเดี่ยว) ในระดับนานาชาติเดินทางมาร่วมแสดง เพื่อการพัฒนาวงให้มีศักยภาพระดับนานาชาติ

แหล่งข้อมูลอื่น