ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องเป่าทองเหลือง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
20-25
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 12: บรรทัด 12:
# [[ทูบา]] ({{lang-en|Tuba}}) เป็นเครื่องดนตรีตระกูลแซกฮอร์น พัฒนาการมาจากการเป่าเขาสัตว์และการเป่าสังข์ เสียงของทูบาต่ำลึกนุ่มนวล ไม่แตกพร่า เสียงต่ำมากที่เรียกว่า “เพดัลโทน” (Pedal tones) นั้นมีคุณสมบัติเฉพาะตัว ปกติทูบาทำหน้าที่เป็นแนว[[เบส]] ให้แก่กลุ่มเครื่องลมทองเหลือง
# [[ทูบา]] ({{lang-en|Tuba}}) เป็นเครื่องดนตรีตระกูลแซกฮอร์น พัฒนาการมาจากการเป่าเขาสัตว์และการเป่าสังข์ เสียงของทูบาต่ำลึกนุ่มนวล ไม่แตกพร่า เสียงต่ำมากที่เรียกว่า “เพดัลโทน” (Pedal tones) นั้นมีคุณสมบัติเฉพาะตัว ปกติทูบาทำหน้าที่เป็นแนว[[เบส]] ให้แก่กลุ่มเครื่องลมทองเหลือง
# [[ซูซาโฟน]] ({{lang-en|Sousaphone}}) เป็นเครื่องดนตรีที่ จอห์น ฟิลิป ซูซา (Johe Philip Sousa,1854-1932)ประดิษฐ์ขึ้นเพื่อใช้แทนทูบา เพื่อให้ง่ายแก่การเดินสนาม สุ้มเสียงของซูซาโฟน มีเสียงแบบเดียวกับทูบา ฉะนั้นจึงใช้แทนกันได้ แต่มีลักษณะพันรอบตัว และมีน้ำหนักมากกว่าทูบา
# [[ซูซาโฟน]] ({{lang-en|Sousaphone}}) เป็นเครื่องดนตรีที่ จอห์น ฟิลิป ซูซา (Johe Philip Sousa,1854-1932)ประดิษฐ์ขึ้นเพื่อใช้แทนทูบา เพื่อให้ง่ายแก่การเดินสนาม สุ้มเสียงของซูซาโฟน มีเสียงแบบเดียวกับทูบา ฉะนั้นจึงใช้แทนกันได้ แต่มีลักษณะพันรอบตัว และมีน้ำหนักมากกว่าทูบา
# [[เมลโลโฟน]] ({{lang-en|Mellophone}}) มีลักษณะคล้ายกับคอร์เนท แต่จะใหญ่กว่าและมีลำโพงที่กว้าง เหมาะที่จะเล่นในวง[[โยธวาทิต]]และมีเสียงกึ่งแหลมกึ่งต่ำ
# [[เมลโลโฟน]] ({{lang-en|Mellophone}}) มีลักษณะคล้ายกับคอร์เนท แต่จะใหญ่กว่าและมีลำโพงที่กว้าง เหมาะที่จะเล่นในวง[[โยธวาทิต]]และมีเสียงกึ่งแหลมกึ่งต่ำ
#[[โฟนเมียกะเทยร้องน้ำตาระเบิดเดี่ยวครูชายมัธยมมุดกลองใหญ่มโนราห์วงดนตรีสุนทราภรณ์]] [[ไทย]] พ.ศ.2470 จังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา และยะลา ชายฝั่งตะวันออก ทหารอากาศจักรพรรดิญี่ปุ่น
#
#
#
#[[โฟนกลองใหญ่แฟนตาเซียใหญ่]]
#[[โยธวาทิต]]
#
#
#
#
#
#
#ง[[โยธวาทิต]]


[[หมวดหมู่:เครื่องลมทองเหลือง]]
[[หมวดหมู่:เครื่องลมทองเหลือง]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:39, 31 พฤษภาคม 2563

รูปภาพ ทรัมเป็ต, ปิคโคโล ทรัมเป็ต, และ ฟลูเกิลฮอร์น

เครื่องเป่าทองเหลือง (อังกฤษ: brass instrument) เป็นการจัดประเภทของเครื่องดนตรีสากล โดยเครื่องดนตรีประเภทเครื่องลมทองเหลืองจะมีส่วนประกอบที่สำคัญคือ ท่อลมทำด้วยโลหะขนาดต่าง ๆ กันการเกิดเสียงเกิดจากการเป่าลมให้เกิดการสั่นสะเทือนที่ริมฝีปากของผู้เล่น ผ่านเข้าไปในกำพวด (Mouth Piece) การเป่าเครื่องลมทองเหลืองจึงขึ้นอยู่กับริมฝีปากเป็นสำคัญ

เครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าทองเหลืองที่ยังใช้ถึงปัจจุบัน

  1. เฟรนช์ฮอร์น (อังกฤษ: France horn) ปัจจุบันเรียกว่า “ฮอร์น” ต้นกำเนิดของฮอร์นคือเขาสัตว์ เฟรนช์ฮอร์น เป็นแตรที่มีช่วงเสียงกว้างถึง 3 ออคเทฟครึ่ง มีท่อยาวประมาณ 20-25 ฟุต แต่นำมาขดเป็นวงโค้งไปมา เพื่อให้สะดวกแก่ผู้เป่าจนเหลือความยาวจากปากเป่าถึงปากลำโพงเพียง 20 นิ้ว เสียงของเฟรนซ์ฮอร์น มีความสดใส สง่า จัดได้ว่าเป็นพระเอกในบรรดาเครื่องลมทองเหลือง
  2. ทรอมโบน (อังกฤษ: Trombone) เครื่องลมทองเหลืองมีคันชักโค้งเป็นรูปตัวยู (U-shape) สำหรับเปลี่ยนความยาวของท่อลม ตำแหน่งของการเลื่อนคันชักจะมีอยู่ทั้งหมด 7 ตำแหน่ง ให้ระดับเสียงดนตรีต่างกันออกไป ทรอมโบนมีเสียงทุ้ม ห้าว ไม่สดใส เหมือนทรัมเป็ต
  3. ทรัมเป็ต (อังกฤษ: Trumpet) ในสมัยโบราณยุโรปถือว่าทรัมเป็ตเป็นเครื่องดนตรีของชนชั้นสูง ประชาชนสามัญไม่มีสิทธิ์เป็นเจ้าของ กำพวดของทรัมเป็ตเป็นกำพวดรูปถ้วยหรือระฆัง ทำให้ออกเสียงได้ดีทั้งเสียงต่ำและเสียงสูง เป็นท่อโลหะ ปลายบานคล้ายรูปถ้วย ท่อลม ทรัมเป็ตกลวงยาวเท่ากันปลายจะบานออกเป็นลำโพง ทรัมเป็ทมีลูกสูบ 3 สูบ สำหรับใช้เปลี่ยนความยาวของท่อลม
  4. คอร์เนต (อังกฤษ: Cornet) คอร์เนตคือเครื่องเป่าทองเหลืองที่มีลักษณะคล้ายกับทรัมเป็ต แต่ลำตัวสั้นกว่า ถูกนำมาใช้ในวงออร์เคสตร้าครั้งแรกประมาณ ค.ศ. 1829 ในการแสดงโอเปร่าของ Rossini เรื่อง William Tell ในปัจจุบันคอร์เน็ตเป็นเครื่องดนตรีสำคัญสำหรับวงโยธวาทิตและแตรวง
  5. ฟลูเกิลฮอร์น (อังกฤษ: Flugelhorn) มี 3 ลูกสูบ ท่อลมกลวงเป็นรูปกรวยปลายบานเป็นลำโพงรูปร่างค่อนข้างจะใหญ่กว่าคอร์เน็ต ลักษณะของเสียงจะคล้ายกับฮอร์น แต่มีความห้าวมากกว่าฮอร์น
  6. ยูโฟเนียม (อังกฤษ: Euphonium) ยูโฟเนียมมาจากภาษา กรีกหมายถึง “เสียงดี” เสียงของยูโฟเนียมจะนุ่มนวล ทุ้มลึก และมีความหนักแน่นมาก สามารถเล่นในระดับเสียงต่ำได้ดีบางครั้งนำไปใช้บรรเลงในวงออร์เคสตราแทนทูบา
  7. ทูบา (อังกฤษ: Tuba) เป็นเครื่องดนตรีตระกูลแซกฮอร์น พัฒนาการมาจากการเป่าเขาสัตว์และการเป่าสังข์ เสียงของทูบาต่ำลึกนุ่มนวล ไม่แตกพร่า เสียงต่ำมากที่เรียกว่า “เพดัลโทน” (Pedal tones) นั้นมีคุณสมบัติเฉพาะตัว ปกติทูบาทำหน้าที่เป็นแนวเบส ให้แก่กลุ่มเครื่องลมทองเหลือง
  8. ซูซาโฟน (อังกฤษ: Sousaphone) เป็นเครื่องดนตรีที่ จอห์น ฟิลิป ซูซา (Johe Philip Sousa,1854-1932)ประดิษฐ์ขึ้นเพื่อใช้แทนทูบา เพื่อให้ง่ายแก่การเดินสนาม สุ้มเสียงของซูซาโฟน มีเสียงแบบเดียวกับทูบา ฉะนั้นจึงใช้แทนกันได้ แต่มีลักษณะพันรอบตัว และมีน้ำหนักมากกว่าทูบา
  9. เมลโลโฟน (อังกฤษ: Mellophone) มีลักษณะคล้ายกับคอร์เนท แต่จะใหญ่กว่าและมีลำโพงที่กว้าง เหมาะที่จะเล่นในวงโยธวาทิตและมีเสียงกึ่งแหลมกึ่งต่ำ
  10. โฟนเมียกะเทยร้องน้ำตาระเบิดเดี่ยวครูชายมัธยมมุดกลองใหญ่มโนราห์วงดนตรีสุนทราภรณ์ ไทย พ.ศ.2470 จังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา และยะลา ชายฝั่งตะวันออก ทหารอากาศจักรพรรดิญี่ปุ่น
  11. โฟนกลองใหญ่แฟนตาเซียใหญ่
  12. โยธวาทิต
  13. โยธวาทิต