ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอพนมดงรัก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 117: บรรทัด 117:
# หมอลำ
# หมอลำ


==กลุ่มชาติพันธ์==
==กลุ่มชาติพันธุ์==
# ลาว (ไทยอีสาน)
# ลาว (ไทยอีสาน)
# เขมร (บางส่วน)
# เขมร (บางส่วน)
# กูย (ส่วย บางส่วน)
# กูย (ส่วย บางส่วน หนองจูบ หนองคันนา โนนมะยาง ศรีสวาย หนองแคน สระแก้ว สายกุหลาบ)


== สถาบันการเงิน ==
== สถาบันการเงิน ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:50, 26 พฤษภาคม 2563

อำเภอพนมดงรัก
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันAmphoe Phanom Dong Rak
คำขวัญ: 
ปราสาทเก่า ทิวเขางาม อ่างน้ำใส ใฝ่วัฒนธรรม
แผนที่จังหวัดสุรินทร์ เน้นอำเภอพนมดงรัก
แผนที่จังหวัดสุรินทร์ เน้นอำเภอพนมดงรัก
พิกัด: 14°26′44″N 103°18′16″E / 14.44556°N 103.30444°E / 14.44556; 103.30444
ประเทศ ไทย
จังหวัดสุรินทร์
พื้นที่
 • ทั้งหมด318.0 ตร.กม. (122.8 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2562)
 • ทั้งหมด38,149 คน
 • ความหนาแน่น119.96 คน/ตร.กม. (310.7 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์ 32140
รหัสภูมิศาสตร์3214
ที่ตั้งที่ว่าการที่ว่าการอำเภอพนมดงรัก หมู่ที่ 18 ตำบลบักได อำเภอพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ 32140
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

พนมดงรัก เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดสุรินทร์

ที่ตั้งและอาณาเขต

อำเภอพนมดงรักตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง ดังนี้

ประวัติ

ท้องที่อำเภอพนมดงรักเดิมเป็นส่วนหนึ่งของอำเภอกาบเชิง ทางราชการได้แบ่งพื้นที่การปกครองออกมาตั้งเป็น กิ่งอำเภอพนมดงรัก ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยลงวันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538 โดยมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน ปีเดียวกัน[1] และต่อมาเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2550 ได้มีพระราชกฤษฎีกายกฐานะขึ้นเป็น อำเภอพนมดงรัก โดยมีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 8 กันยายน ปีเดียวกัน[2]

โดยชื่อ "พนมดงรัก" มาจากเทือกเขาพนมดงรัก ซึ่งเป็นพรมแดนธรรมชาติกั้นระหว่างไทยกับกัมพูชาและลาว โดยคำว่า "พนมดงรัก" มาจากภาษาเขมรคำว่า "พนมดองแร็ก" (ជួរភ្នំដងរែក) แปลว่า "ภูเขาไม้คาน"[3]

การแบ่งเขตการปกครอง

การปกครองส่วนภูมิภาค

อำเภอพนมดงรักแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 4 ตำบล 55 หมู่บ้าน ได้แก่

1. บักได (Bakdai) 20 หมู่บ้าน
2. โคกกลาง (Khok Klang) 11 หมู่บ้าน
3. จีกแดก (Chik Daek) 12 หมู่บ้าน
4. ตาเมียง (Ta Miang) 12 หมู่บ้าน

การปกครองส่วนท้องถิ่น

ท้องที่อำเภอพนมดงรักประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4 แห่ง ได้แก่

  • องค์การบริหารส่วนตำบลบักได ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบักไดทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลโคกกลาง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลโคกกลางทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลจีกแดก ครอบคลุมพื้นที่ตำบลจีกแดกทั้งตำบล
  • องค์การบริหารส่วนตำบลตาเมียง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลตาเมียงทั้งตำบล

เศรษฐกิจ

  • ภาคเกษตรกรรม ประชาชนในพื้นที่ส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพเกษตรกรรม พืชเศรษฐกิจที่สำคัญได้แก่ ยางพารา ข้าว อ้อย และมันสำปะหลัง
  • วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ส่วนมากเป็นการลงทุนจำหน่ายวัสดุก่อสร้างและอุปกรณ์ด้านการเกษตร

สถานศึกษา

  • ระดับมัธยมศึกษา
  1. โรงเรียนพนมดงรักวิทยา
  • ระดับประถมศึกษา
  1. โรงเรียนบ้านรุน (ขยายโอกาส ม.1-6)
  2. โรงเรียนบ้านอำปึล (ขยายโอกาส ม.1-3)
  3. โรงเรียนบ้านตาเมียง (ขยายโอกาส ม.1-3)
  4. โรงเรียนบ้านหนองคันนา (ขยายโอกาส ม.1-3)
  5. โรงเรียนบ้านโคกกรม (ขยายโอกาส ม.1-3)
  6. โรงเรียนบ้านโคกกลาง (ขยายโอกาส ม.1-3)
  7. โรงเรียนบ้านสระแก้ว (ขยายโอกาส ม.1-3)
  8. โรงเรียนบ้านอุโลก
  9. โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง ปราสาท4 (นิคมฯ4)
  10. โรงเรียนบ้านไทยสันติสุข
  11. โรงเรียนบ้านไทยนิยม
  12. โรงเรียนบ้านหนองจูบ
  13. โรงเรียนบ้านพนมดิน
  14. โรงเรียนบ้านจีกแดก
  15. โรงเรียนบ้านละเอาะ
  16. โรงเรียนบ้านตาลวก
  17. โรงเรียนบ้านศรีสวาย
  18. โรงเรียนบ้านโคกโบสถ์
  19. โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนโคกแสลง

การสาธารณสุข

  • โรงพยาบาล ขนาด 30 เตียง 1 แห่ง
  1. โรงพยาบาลพนมดงรักเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา
  • สาธารณสุขอำเภอ 1 แห่ง
  • โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 7 แห่ง
  1. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตาเมียง
  2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจีกแดก
  3. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกกลาง
  4. สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี บ้านรุน จ.สุรินทร์
  5. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอำปึล
  6. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุโลก
  7. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองคันนา

สถานที่ท่องเที่ยว

ปราสาทตาเมือนธม
  1. อุทยานประวัติศาสตร์กลุ่มปราสาทตาเมือน
  2. ปราสาทตาควาย
  3. อ่างเก็บน้ำห้วยเสม็ด
  4. อุทยานการศึกษาวัดเขาโต๊ะ
  5. เขื่อนห้วยศาลา
  6. สุดเขตประเทศไทย
  7. หมอกทิวเขาพนมดงรัก
  8. ทะเลโคกแสดง

เทศกาล

  1. งานเยี่ยมเยือนตาเมือนเดือนเมษา โดยจัดขึ้นวันที่ 12 เมษายน ของทุกปี
  2. ประเพณีบุญบั้งไฟโคกกลาง จัดขึ้นทุกปี ประมาณต้นเดือนพฤษภาคม
  3. ของดีประจำอำเภอพนมดงรัก ช่วงเดือนมีนาคม
  4. งานเลี้ยงปู่ตา ช่วงเดือนเมษายน
  5. งายเยี่ยมเยือนปราสาทตาควาย
  6. งานฮีต12 คอง14

การละเล่นพื้นบ้าน

  1. หมอลำ

กลุ่มชาติพันธุ์

  1. ลาว (ไทยอีสาน)
  2. เขมร (บางส่วน)
  3. กูย (ส่วย บางส่วน หนองจูบ หนองคันนา โนนมะยาง ศรีสวาย หนองแคน สระแก้ว สายกุหลาบ)

สถาบันการเงิน

ธนาคาร

  1. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

หน่วยงานราชการอื่น ๆ

  1. ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนพนมดงรัก
  2. สถานีตำรวจภูธรพนมดงรัก
  3. สำนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอำเภอพนมดงรัก
  4. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอพนมดงรัก
  5. สำนักงานสัสดีพนมดงรัก
  6. สำนักงานเกษตรอำเภอพนมดงรัก

การเดินทาง

อำเภอพนมดงรักมีทางหลวงแผ่นดินตัดผ่าน 2 สาย คือ ทางหลวงหมายเลข 224 จากเขตเทศบาลนครนครราชสีมาถึงบ้านหินโคน อำเภอกาบเชิง และทางหลวงหมายเลข 2375 จากพนมดิน-บักดอก อำเภอปราสาท เดินทางได้อย่างสะดวก

บุคคลที่มีชื่อเสียง

อ้างอิง

  1. "ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง แบ่งเขตท้องที่อำเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ ตั้งเป็นกิ่งอำเภอพนมดงรัก" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 112 (พิเศษ 9 ง): 55. 22 มีนาคม 2538.
  2. "พระราชกฤษฎีกาตั้งอำเภอฆ้องชัย...และอำเภอเหล่าเสือโก้ก พ.ศ. ๒๕๕๐" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 124 (46 ก): 14–21. 24 สิงหาคม 2550.
  3. หน้า ๑๑๒-๑๑๓. รัก...ไม่รัก โดย "สถาปนิกต่างดาว". อนุสาร อ.ส.ท.ปีที่ ๕๖ ฉบับที่ ๗: กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙

แหล่งข้อมูลอื่น