ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภววิทยา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงบางส่วน
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ปรับปรุงการอ้างอิง}}
{{ความหมายอื่น|||ภววิทยา (แก้ความกำกวม)}}
{{ความหมายอื่น|||ภววิทยา (แก้ความกำกวม)}}
'''ภววิทยา'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตยสถาน] ค้นหาคำว่า "ontology", สืบค้นเมื่อ 29 กันยายน 2559</ref> ({{lang-en|ontology}}) เป็น[[ปรัชญา]]สาขาหนึ่ง ที่ศึกษาเรื่องสภาวะแห่งความเป็นอยู่ หรือ[[สัต]] (being) การแปรสภาพ (becoming) การดำรงอยู่ (existence) และรวมทั้งการจัดปทารถะ หรือประเภทของสัตตะภาวะ (categories of being) ว่าเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างไร ภววิทยามุ่งสนใจกับคำถามถึงการมีอยู่ (exist) ของ[[สัตภาพ]] (entity) ต่าง ๆ โดยเฉพาะประเด็นว่าการมีอยู่ของสัตภาพนั้นมีอยู่อย่างไร ดำรงอยู่อย่างไร และมีความสัมพันธ์กับสิ่งต่าง ๆ อย่างไร ซึ่งการศึกษาภววิทยาจะมีมุมมองแตกต่างตามแต่ละสำนักคิด เช่น ในหนทางแบบอภิปรัชญาของสำนักปรัชญาวิเคราะห์ซึ่งมองว่าธรรมชาติของความเป็นจริง (reality) นั้นต้องพูดถึงการเป็นอยู่ขั้นปาทรถะ (category) ของความเป็นจริง ซึ่งทำให้นักปรัชญาเหล่านี้มองว่า ธรรมชาติของความเป็นจริงมีเบื้องหลังที่เป็นสิ่งพื้นฐาน (basic) และมีสิ่งที่เป็นอนุพันธ์ (derivatives) ตามออกมาจากสิ่งพื้นฐานเหล่านั้น อาทิ เชื่อว่ามีบางอย่างเป็นเหตุกำเนิดของสิ่งต่าง ๆ เช่น พระเจ้าเป็นสิ่งพื้นฐานแรกที่อยู่เบื้องหลัง และให้กำเนิดแก่สิ่งต่าง ๆ ตามมา
'''ภววิทยา'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตยสถาน] ค้นหาคำว่า "ontology", สืบค้นเมื่อ 29 กันยายน 2559</ref> ({{lang-en|Ontology}}) เป็น[[ปรัชญา]]สาขาหนึ่งที่ศึกษาเรื่องสภาวะแห่งความเป็นอยู่ หรือ[[สัต]] (being) ในความหมายกว้างกว่านี้ ภววิทยาศึกษาศึกษาแนวคิดที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับ[[การแปรสภาพ]] (becoming), [[การดำรงอยู่]] (existence), [[ความเป็นจริง]] (reality) และ [[ประเภทของสัต]] (categories of being) และความสัมพันธ์ระหว่างมัน<ref>“[[mwod:ontology|Ontology]].” ''[[Merriam-Webster dictionary|Merriam-Webster Dictionary]]''. Retrieved 3 May 2020.</ref> โดยดั้งเดิมแล้ว ภววิทยาจัดเป็นส่วนหนึ่งขงอปรัชญาสาขา[[อภิปรัชญา]] (metaphysics) ภววิทยามุ่งสนใจกับคำถามถึงการมีอยู่ (exist) ของ[[สัตภาพ]] (entity) ต่าง ๆ และสัตภาพต่าง ๆ นั้นควรรวมกลุ่มหรือสัมพันธ์กันภายใน[[ชนชั้น]] (hierarchy) อย่างไร และจะถูกนำมาแบ่งประเภทามความเหมือนหรือความต่างอย่างไร
== ศัพทมูล ==
ในภาษาอังกฤษ คำว่า ''ontology'' ('การศึกษาสัต') เกิดจากการรวมคำว่า ''[[wikt:onto-|onto]]-'' ([[ภาษากรีก|กรีก]]: {{Lang-gr|ὄν|label=none|translit=on}}; <!--[sic] (neuter), not ὤν (masculine)-->,<ref group="lower-roman">ὄν is the [[Present tense|present-tense]] [[participle]] of the [[verb]] [[wiktionary:εἰμί|εἰμί]] (''eimí'', 'to be' or 'I am').</ref> [[สัมพันธการก]]: {{Lang-gr|ὄντος|label=none|translit=ontos|lit=สัต' หรือ 'อันซึ่งเป็น (that which is)}}) กับคำว่า ''[[wikt:-logia|-logia]]'' ({{Lang-gr|-λογία}}|lit=การบรรยายเชิงตรรกะ (logical discourse)|label=none}})<ref name="OnlineEtDict">{{cite dictionary|title=ontology|url=https://www.etymonline.com/word/ontology|dictionary=[[Online Etymology Dictionary]]}}</ref><ref name="LSJ">{{LSJ|ei)mi/1|εἰμί|ref}}</ref>
การปรากฏใช้คำว่า ''ontology'' ครั้งแรกในภาษาอังกฤษ ตามที่บันทึกไว้ใน''[[Oxford English Dictionary]]''<ref>"[https://www.oxfordlearnersdictionaries.com/us/definition/english/ontology?q=ontology ontology]." ''[[Oxford Advanced Learner's Dictionary]]''. [[Oxford Dictionaries]] (2008).</ref> ปรากฏพบในปี 1664 ใน ''Archelogia philosophica nova...'' โดย Gideon Harvey<ref>Harvey, Gideon. 1663. ''[http://name.umdl.umich.edu/A43008.0001.001 Archelogia philosophica nova, or, New Principles of Philosophy. Containing Philosophy in General, Metaphysicks or Ontology, Dynamilogy or a Discourse of Power, Religio Philosophi or Natural Theology, Physicks or Natural philosophy].'' London: J.H.</ref>


ส่วนในภาษาไทย คำว่า ''ภววิทยา'' มาจากการรวมคำว่า ''[[wiktionary:bhava|ภว]]'' (สภาวะแห่งการดำรงอยู่ หรือ state of existence) ใน[[ภาษาบาลี]] กับคำว่า ''[[wiktionary:Vidya|วิทยา]]'' (ความรู้) ใน[[ภาษาสันสกฤต]]
ภววิทยา ถือว่าเป็นปรัชญาแขนงหนึ่งของ[[อภิปรัชญา]] (metaphysics) อันเป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยความจริงของสรรพสิ่ง ความเป็นจริงของสิ่งนั้นประกอบด้วยอะไร อะไรอยู่ในฐานะที่เรียกได้ว่า จริง หรือ มีอยู่จริง และความจริงสูงสุด (ultimate reality) ที่อยู่เบื้องหลังสิ่งที่ปรากฏนั้นคืออะไร อะไรคือความจริงสูงสุดอันนั้น ความจริงสูงสุดนั้นเป็นยังไง เช่น ความดีคืออะไร ความยุติธรรมคืออะไร พระเจ้าคืออะไร จิตเป็นความจริงมูลฐาน หรือวัตถุเป็นความจริงมูลฐาน เป็นต้น แต่ในส่วนภววิทยาจะศึกษาเรื่องความมีอยู่ของความจริงเหล่านั้น การดำรงอยู่ของสิ่งเหล่านั้น หรือสารัตถะนั้นเป็นจริงอย่างไร โดยทั่วไปถือว่าศาสตร์ทั้งสองนี้ศึกษาเรื่องเดียวกัน คือ ความมีอยู่ของสัตตะ ความเป็นจริงที่มีอยู่ของสรรพสิ่ง เพราะฉะนั้นจึงถือว่าศาสตร์ทั้งสองเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกัน


== ภาพรวม ==
ซึ่งอภิปรัชญากับภววิทยานั้น มีความแตกต่างตรงที่ อภิปรัชญาสนใจคำถามว่า: what is "x" แต่ภววิทยาสนใจคำถามว่า: what "is" x
นักปรัชญาบางส่วน โดยเฉพาะสาย[[ลัทธิเพลโต]] เชื่อว่าคำนาม (noun) ทุกคำ ล้วนมีเพื่อระบุถึงสัต (entity) หนึ่งเสมอ ในขณะที่นักปรัชญาบางส่วนโต้แย้งว่าคำนาม (noun) อาจไม่ได้เป็นการขานชื่อสัต (entity) เสมอไป แต่เป็นการอ้างถึงแบบชวเลข (shorthand) ถึงทั้งกลุ่มของ[[กรรมภาษา]] (object) หรือ[[เหตุการณ์ (ปรัชญา)|เหตุการณ์]] (event) ในมุมมองแบบนี้ ''[[จิต]]'' (mind) แทนที่จะสื่อถึงสัต กลับใช้สื่อถึงกลุ่มของเหตุการณ์ทางจิต (mental events) ซึ่ง[[บุคคล]] (person) หนึ่งเคยได้พบหรือมีประสบการณ์, สื่อถึงกลุ่มของบุคคล ที่ซึ่งมีคุณลักษณะบางประการร่วมกันในมุมมองของ[[สังคม]] (society) และกลุ่มของกิจกรรมทางปัญญาเฉพาะประเภทในมุมมองของ[[เรขาคณิต]] (geometry)<ref>{{cite book | url = https://books.google.com/?id=XU5atV1nfukC&dq=platonic+writings+griswold&printsec=frontcover&q= |title= Platonic Writings/Platonic Readings |first= Charles L. |last= Griswold |publisher= Penn State Press |year= 2001 |page= 237 |isbn= 978-0-271-02137-9}}</ref>{{qn|date=October 2017}} ระหว่างสองขั้วของ[[สัจนิยมเพลโต]] (Platonic realism) และ [[นามนิยม]] ยังมี[[สัจนิยมสายกลาง]] (Moderate realism) อีก

นอกจากนี้ปรัชญา ภววิทยา ยังถูกนำไปประยุกต์เข้ากับศาสตร์อื่น ๆ อีกด้วยเช่น [[ภววิทยาสารสนเทศ]] (ontology information science), [[ภววิทยาวิศวกรรม]] (ontology engineering), [[ภววิทยาภาษา]] (ontology language), สังคมวิทยา, มนุษยวิทยา, รัฐศาสตร์, สถาปัตยกรรม, วิทยาศาสตร์, ศิลปะ, ฯลฯ


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}


[[หมวดหมู่:ปรัชญา]]
[[หมวดหมู่:ภววิทยา| ]]
[[หมวดหมู่:อภิปรัชญา]]
[[หมวดหมู่:อภิปรัชญา|*]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:12, 11 พฤษภาคม 2563

ภววิทยา[1] (อังกฤษ: Ontology) เป็นปรัชญาสาขาหนึ่งที่ศึกษาเรื่องสภาวะแห่งความเป็นอยู่ หรือสัต (being) ในความหมายกว้างกว่านี้ ภววิทยาศึกษาศึกษาแนวคิดที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการแปรสภาพ (becoming), การดำรงอยู่ (existence), ความเป็นจริง (reality) และ ประเภทของสัต (categories of being) และความสัมพันธ์ระหว่างมัน[2] โดยดั้งเดิมแล้ว ภววิทยาจัดเป็นส่วนหนึ่งขงอปรัชญาสาขาอภิปรัชญา (metaphysics) ภววิทยามุ่งสนใจกับคำถามถึงการมีอยู่ (exist) ของสัตภาพ (entity) ต่าง ๆ และสัตภาพต่าง ๆ นั้นควรรวมกลุ่มหรือสัมพันธ์กันภายในชนชั้น (hierarchy) อย่างไร และจะถูกนำมาแบ่งประเภทามความเหมือนหรือความต่างอย่างไร

ศัพทมูล

ในภาษาอังกฤษ คำว่า ontology ('การศึกษาสัต') เกิดจากการรวมคำว่า onto- (กรีก: ὄν, on; ,[i] สัมพันธการก: ὄντος, ontos, 'สัต' หรือ 'อันซึ่งเป็น (that which is)') กับคำว่า -logia (กรีก: -λογία|lit=การบรรยายเชิงตรรกะ (logical discourse)|label=none}})[3][4] การปรากฏใช้คำว่า ontology ครั้งแรกในภาษาอังกฤษ ตามที่บันทึกไว้ในOxford English Dictionary[5] ปรากฏพบในปี 1664 ใน Archelogia philosophica nova... โดย Gideon Harvey[6]

ส่วนในภาษาไทย คำว่า ภววิทยา มาจากการรวมคำว่า ภว (สภาวะแห่งการดำรงอยู่ หรือ state of existence) ในภาษาบาลี กับคำว่า วิทยา (ความรู้) ในภาษาสันสกฤต

ภาพรวม

นักปรัชญาบางส่วน โดยเฉพาะสายลัทธิเพลโต เชื่อว่าคำนาม (noun) ทุกคำ ล้วนมีเพื่อระบุถึงสัต (entity) หนึ่งเสมอ ในขณะที่นักปรัชญาบางส่วนโต้แย้งว่าคำนาม (noun) อาจไม่ได้เป็นการขานชื่อสัต (entity) เสมอไป แต่เป็นการอ้างถึงแบบชวเลข (shorthand) ถึงทั้งกลุ่มของกรรมภาษา (object) หรือเหตุการณ์ (event) ในมุมมองแบบนี้ จิต (mind) แทนที่จะสื่อถึงสัต กลับใช้สื่อถึงกลุ่มของเหตุการณ์ทางจิต (mental events) ซึ่งบุคคล (person) หนึ่งเคยได้พบหรือมีประสบการณ์, สื่อถึงกลุ่มของบุคคล ที่ซึ่งมีคุณลักษณะบางประการร่วมกันในมุมมองของสังคม (society) และกลุ่มของกิจกรรมทางปัญญาเฉพาะประเภทในมุมมองของเรขาคณิต (geometry)[7][ต้องการคำอ้างอิงเพื่อยืนยัน] ระหว่างสองขั้วของสัจนิยมเพลโต (Platonic realism) และ นามนิยม ยังมีสัจนิยมสายกลาง (Moderate realism) อีก

อ้างอิง

  1. ศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตยสถาน ค้นหาคำว่า "ontology", สืบค้นเมื่อ 29 กันยายน 2559
  2. Ontology.” Merriam-Webster Dictionary. Retrieved 3 May 2020.
  3. "ontology". Online Etymology Dictionary.
  4. εἰμί. Liddell, Henry George; Scott, Robert; A Greek–English Lexicon at Perseus Project
  5. "ontology." Oxford Advanced Learner's Dictionary. Oxford Dictionaries (2008).
  6. Harvey, Gideon. 1663. Archelogia philosophica nova, or, New Principles of Philosophy. Containing Philosophy in General, Metaphysicks or Ontology, Dynamilogy or a Discourse of Power, Religio Philosophi or Natural Theology, Physicks or Natural philosophy. London: J.H.
  7. Griswold, Charles L. (2001). Platonic Writings/Platonic Readings. Penn State Press. p. 237. ISBN 978-0-271-02137-9.


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-roman" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-roman"/> ที่สอดคล้องกัน