ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทัต บุนนาค)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NewFrontierHistoryThai (คุย | ส่วนร่วม)
กบฏหวันหมดหลี
NewFrontierHistoryThai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21: บรรทัด 21:
'''สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ''' หรือ '''สมเด็จเจ้าพระยาองค์น้อย''' นามเดิม '''ทัต บุนนาค''' [[ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน|ผู้สำเร็จราชการ]]ในพระนครฯในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ดำรงตำแหน่งเป็น '''พระยาศรีพิพัฒน์รัตนราชโกษา''' ที่พระคลังสินค้าใน[[รัชกาลที่ 3]]
'''สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ''' หรือ '''สมเด็จเจ้าพระยาองค์น้อย''' นามเดิม '''ทัต บุนนาค''' [[ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน|ผู้สำเร็จราชการ]]ในพระนครฯในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ดำรงตำแหน่งเป็น '''พระยาศรีพิพัฒน์รัตนราชโกษา''' ที่พระคลังสินค้าใน[[รัชกาลที่ 3]]


==ประวัติ==
==ประวัติปราบกบฏห==


สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิชัยญาติ เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2334 เดิมชื่อ '''ทัต''' เป็นบุตรคนที่สิบของ[[เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค)]] มารดาคือเจ้าคุณนวล ([[เจ้าคุณพระราชพันธุ์นวล]]) ซึ่งเป็นพระขนิษฐาใน[[สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี]] สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิชัยญาติเกิดในสาย[[สกุลบุนนาค]]ซึ่งสืบเชื้อสายมาจาก[[เจ้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด)]] สมุหนายกชาวเปอร์เซียในรัชสมัย[[สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม]] บิดาของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิชัยญาติคือเจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค) ดำรงตำแหน่งเป็น[[สมุหกลาโหม]]ในแผ่นดิน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]] บ้านของเจ้าพระยาอรรคมหาเสนาอยู่ที่บริเวณกำแพง[[พระบรมมหาราชวัง]]ทางทิศใต้ บริเวณ[[วัดพระเชตุพน]]ฯในปัจจุบัน สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิชัยญาติมีพี่สาวร่วมมารดาได้แก่เจ้าคุณวังหลวง (นุ่น) เจ้าคุณวังหน้า (คุ้ม) และเจ้าคุณปราสาท (ต่าย) และมีพี่ชายร่วมมารดาคือนายดิศ ต่อมาคือ[[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์]]
สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิชัยญาติ เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2334 เดิมชื่อ '''ทัต''' เป็นบุตรคนที่สิบของ[[เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค)]] มารดาคือเจ้าคุณนวล ([[เจ้าคุณพระราชพันธุ์นวล]]) ซึ่งเป็นพระขนิษฐาใน[[สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี]] สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิชัยญาติเกิดในสาย[[สกุลบุนนาค]]ซึ่งสืบเชื้อสายมาจาก[[เจ้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด)]] สมุหนายกชาวเปอร์เซียในรัชสมัย[[สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม]] บิดาของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิชัยญาติคือเจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค) ดำรงตำแหน่งเป็น[[สมุหกลาโหม]]ในแผ่นดิน[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]] บ้านของเจ้าพระยาอรรคมหาเสนาอยู่ที่บริเวณกำแพง[[พระบรมมหาราชวัง]]ทางทิศใต้ บริเวณ[[วัดพระเชตุพน]]ฯในปัจจุบัน สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิชัยญาติมีพี่สาวร่วมมารดาได้แก่เจ้าคุณวังหลวง (นุ่น) เจ้าคุณวังหน้า (คุ้ม) และเจ้าคุณปราสาท (ต่าย) และมีพี่ชายร่วมมารดาคือนายดิศ ต่อมาคือ[[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์]]
บรรทัด 27: บรรทัด 27:
สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ เริ่มรับราชการใน[[รัชกาลที่ 1]] ในตำแหน่ง''นายสนิทหุ้มแพรมหาดเล็ก'' ต่อมาใน[[รัชกาลที่ 2]] ดำรงตำแหน่งเป็น''จมื่นเด็กชา'' หัวหมื่นมหาดเล็กใน[[กรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์]]วังหน้า เมื่อกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ทิวงคตในปีพ.ศ. 2360 จึงย้ายกลับมารับราชการในวังหลวงตำแหน่งจางวางมหาดเล็ก ต่อมาได้เลื่อนเป็น ''พระยาศรีสุริยวงศ์'' ในเวลาต่อมา ในพ.ศ. 2361 มีการขยายพระบรมมหาราชวังลงมาทางทิศใต้ พระยาศรีสุริยวงศ์ (ทัต) และพระยาสุริยวงศ์มนตรี (ดิศ) ผู้เป็นพี่ชายจึงย้ายที่อยู่ไปยังริมแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตกใต้[[ชุมชนกุฎีจีน|บ้านกุฎีจีน]]<ref>http://www.bunnag.in.th/history7-home2.html</ref> [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงแต่งตั้งให้พระยาศรีสุริยวงศ์ (ทัต) ขึ้นเป็น''พระยาศรีพิพัฒน์รัตนราชโกษา''จางวางพระคลังสินค้า
สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ เริ่มรับราชการใน[[รัชกาลที่ 1]] ในตำแหน่ง''นายสนิทหุ้มแพรมหาดเล็ก'' ต่อมาใน[[รัชกาลที่ 2]] ดำรงตำแหน่งเป็น''จมื่นเด็กชา'' หัวหมื่นมหาดเล็กใน[[กรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์]]วังหน้า เมื่อกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ทิวงคตในปีพ.ศ. 2360 จึงย้ายกลับมารับราชการในวังหลวงตำแหน่งจางวางมหาดเล็ก ต่อมาได้เลื่อนเป็น ''พระยาศรีสุริยวงศ์'' ในเวลาต่อมา ในพ.ศ. 2361 มีการขยายพระบรมมหาราชวังลงมาทางทิศใต้ พระยาศรีสุริยวงศ์ (ทัต) และพระยาสุริยวงศ์มนตรี (ดิศ) ผู้เป็นพี่ชายจึงย้ายที่อยู่ไปยังริมแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตกใต้[[ชุมชนกุฎีจีน|บ้านกุฎีจีน]]<ref>http://www.bunnag.in.th/history7-home2.html</ref> [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงแต่งตั้งให้พระยาศรีสุริยวงศ์ (ทัต) ขึ้นเป็น''พระยาศรีพิพัฒน์รัตนราชโกษา''จางวางพระคลังสินค้า


=== ปราบกบฏหวันหมาดหลี ===
ในพ.ศ. 2382 [[กบฏหวันหมาดหลี]] หลานสองคน<ref>https://www.royalark.net/Malaysia/kedah4.htm</ref>ของสุลต่าน[[ตวนกูปะแงหรัน]]แห่งไทรบุรีได้แก่ ตนกูมูฮาหมัดซาอัด (Tunku Muhammad Sa'ad) และตนกูมูฮาหมัดอากิบ (Tunku Muhammad Akib) ร่วมมือกับหวันหมาดหลีซึ่งเป็นโจรสลัดใน[[ทะเลอันดามัน]] นำทัพเรือเข้าบุกยึดเมืองไทรบุรีในเดือนมีนาคมพ.ศ. 2382 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าฯมีพระราชโองการให้พระยาศรีพิพัฒน์ฯ (ทัต) และ[[เจ้าพระยายมราช (บุนนาค ยมนาค)|เจ้าพระยายมราช (บุนนาค)]] ยกทัพเรือลงไปช่วย[[เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร)|เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย)]] ในการปราบกบฏไทรบุรี พระยาศรีพิพัฒน์ฯและเจ้าพระยายมราชยกทัพถึงเมืองสงขลาในเดือนเมษายน พบว่าพระภักดีบริรักษ์ (แสง) ได้ยึดเมืองไทรบุรีไว้ได้แล้ว
ในพ.ศ. 2382 [[กบฏหวันหมาดหลี]] หลานสองคน<ref>https://www.royalark.net/Malaysia/kedah4.htm</ref>ของสุลต่าน[[ตวนกูปะแงหรัน]]แห่งไทรบุรีได้แก่ ตนกูมูฮาหมัดซาอัด (Tunku Muhammad Sa'ad) และตนกูมูฮาหมัดอากิบ (Tunku Muhammad Akib) ร่วมมือกับหวันหมาดหลีซึ่งเป็นโจรสลัดใน[[ทะเลอันดามัน]] นำทัพเรือเข้าบุกยึดเมืองไทรบุรีในเดือนมีนาคมพ.ศ. 2382 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าฯมีพระราชโองการให้พระยาศรีพิพัฒน์ฯ (ทัต) และ[[เจ้าพระยายมราช (บุนนาค ยมนาค)|เจ้าพระยายมราช (บุนนาค)]] ยกทัพเรือลงไปช่วย[[เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย ณ นคร)|เจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย)]] ในการปราบกบฏไทรบุรี พระยาศรีพิพัฒน์ฯและเจ้าพระยายมราชยกทัพถึงเมืองสงขลาในเดือนเมษายน พบว่าพระภักดีบริรักษ์ (แสง) ได้ยึดเมืองไทรบุรีไว้ได้แล้ว


บรรทัด 33: บรรทัด 34:
เมื่อเจ้าพระยานครฯ (น้อย) ถึงแก่อสัญกรรมในเดือนพฤษภาคมพ.ศ. 2382 พระยาศรีพิพัฒน์ฯจึงจัดระเบียบการปกครองของไทรบุรีใหม่ โดยให้ตนกูอาหนุ่มขึ้นเป็นสุลต่านแห่งไทรบุรี และแบ่งรัฐไทรบุรีออกเป็นสามหน่วยการปกครองได้แก่[[สตูล]] [[ปะลิส]] และไทรบุรีเดิม ให้ตนกูมูฮัมหมัดอากิบเป็นเจ้าเมืองสตูล<ref>http://human.skru.ac.th/husoconference/conf/O16.pdf</ref> ให้ตวนไซยิดฮุสเซน (Tuan Syed Hussein) เป็นเจ้าเมือง[[ปะลิส]] หลังจากเสร็จสิ้นงานราชการที่หัวเมืองมลายูแล้ว พระยาศรีพิพัฒน์ฯจึงสร้างเจดีย์บนเขาเมืองสงขลาเรียกว่า "เจดีย์ขาว" เคียงคู่กับ "เจดีย์ดำ" ซึ่งเจ้าพระยาพระคลัง (ดิศ) ผู้เป็นพี่ชายได้สร้างขึ้นเมื่อยกทัพปราบหัวเมืองมลายูในพ.ศ. 2375
เมื่อเจ้าพระยานครฯ (น้อย) ถึงแก่อสัญกรรมในเดือนพฤษภาคมพ.ศ. 2382 พระยาศรีพิพัฒน์ฯจึงจัดระเบียบการปกครองของไทรบุรีใหม่ โดยให้ตนกูอาหนุ่มขึ้นเป็นสุลต่านแห่งไทรบุรี และแบ่งรัฐไทรบุรีออกเป็นสามหน่วยการปกครองได้แก่[[สตูล]] [[ปะลิส]] และไทรบุรีเดิม ให้ตนกูมูฮัมหมัดอากิบเป็นเจ้าเมืองสตูล<ref>http://human.skru.ac.th/husoconference/conf/O16.pdf</ref> ให้ตวนไซยิดฮุสเซน (Tuan Syed Hussein) เป็นเจ้าเมือง[[ปะลิส]] หลังจากเสร็จสิ้นงานราชการที่หัวเมืองมลายูแล้ว พระยาศรีพิพัฒน์ฯจึงสร้างเจดีย์บนเขาเมืองสงขลาเรียกว่า "เจดีย์ขาว" เคียงคู่กับ "เจดีย์ดำ" ซึ่งเจ้าพระยาพระคลัง (ดิศ) ผู้เป็นพี่ชายได้สร้างขึ้นเมื่อยกทัพปราบหัวเมืองมลายูในพ.ศ. 2375


=== รับทูตอเมริกัน ===
ต่อมาในรัชกาลที่ 4 โปรดให้เรียกพระยาศรีพิพัฒน์รัตนราชโกษาว่า '''เจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ''' และโปรดเกล้าให้เป็น '''สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ''' ให้สำเร็จราชการทุกสิ่งใน[[พระนคร]] รวมทั้งว่าที่พระคลังสินค้า คนทั่วไปนิยมเรียกท่านว่า "สมเด็จเจ้าพระยาองค์น้อย" (เรียก[[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)|สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์]] พี่ชายของท่านว่าว่า "สมเด็จเจ้าพระยาองค์ใหญ่")
ต่อมาในรัชกาลที่ 4 โปรดให้เรียกพระยาศรีพิพัฒน์รัตนราชโกษาว่า '''เจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ''' และโปรดเกล้าให้เป็น '''สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ''' ให้สำเร็จราชการทุกสิ่งใน[[พระนคร]] รวมทั้งว่าที่พระคลังสินค้า คนทั่วไปนิยมเรียกท่านว่า "สมเด็จเจ้าพระยาองค์น้อย" (เรียก[[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)|สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์]] พี่ชายของท่านว่าว่า "สมเด็จเจ้าพระยาองค์ใหญ่")



รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:57, 8 พฤษภาคม 2563

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ
(ทัต บุนนาค)
สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ
{{{alt}}}
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิดพ.ศ. 2334
พระนคร  ไทย
ทัต
พิราลัยพ.ศ. 2400 (66 ปี)
พระนคร  ไทย
บิดาเจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค)
มารดาเจ้าคุณพระราชพันธุ์นวล
คู่สมรสท่านผู้หญิงน้อย
ตระกูลบุนนาค

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ หรือ สมเด็จเจ้าพระยาองค์น้อย นามเดิม ทัต บุนนาค ผู้สำเร็จราชการในพระนครฯในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ดำรงตำแหน่งเป็น พระยาศรีพิพัฒน์รัตนราชโกษา ที่พระคลังสินค้าในรัชกาลที่ 3

ประวัติปราบกบฏห

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิชัยญาติ เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2334 เดิมชื่อ ทัต เป็นบุตรคนที่สิบของเจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค) มารดาคือเจ้าคุณนวล (เจ้าคุณพระราชพันธุ์นวล) ซึ่งเป็นพระขนิษฐาในสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิชัยญาติเกิดในสายสกุลบุนนาคซึ่งสืบเชื้อสายมาจากเจ้าพระยาบวรราชนายก (เฉกอะหมัด) สมุหนายกชาวเปอร์เซียในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม บิดาของสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิชัยญาติคือเจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค) ดำรงตำแหน่งเป็นสมุหกลาโหมในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก บ้านของเจ้าพระยาอรรคมหาเสนาอยู่ที่บริเวณกำแพงพระบรมมหาราชวังทางทิศใต้ บริเวณวัดพระเชตุพนฯในปัจจุบัน สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิชัยญาติมีพี่สาวร่วมมารดาได้แก่เจ้าคุณวังหลวง (นุ่น) เจ้าคุณวังหน้า (คุ้ม) และเจ้าคุณปราสาท (ต่าย) และมีพี่ชายร่วมมารดาคือนายดิศ ต่อมาคือสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ เริ่มรับราชการในรัชกาลที่ 1 ในตำแหน่งนายสนิทหุ้มแพรมหาดเล็ก ต่อมาในรัชกาลที่ 2 ดำรงตำแหน่งเป็นจมื่นเด็กชา หัวหมื่นมหาดเล็กในกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์วังหน้า เมื่อกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์ทิวงคตในปีพ.ศ. 2360 จึงย้ายกลับมารับราชการในวังหลวงตำแหน่งจางวางมหาดเล็ก ต่อมาได้เลื่อนเป็น พระยาศรีสุริยวงศ์ ในเวลาต่อมา ในพ.ศ. 2361 มีการขยายพระบรมมหาราชวังลงมาทางทิศใต้ พระยาศรีสุริยวงศ์ (ทัต) และพระยาสุริยวงศ์มนตรี (ดิศ) ผู้เป็นพี่ชายจึงย้ายที่อยู่ไปยังริมแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตกใต้บ้านกุฎีจีน[1] พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงแต่งตั้งให้พระยาศรีสุริยวงศ์ (ทัต) ขึ้นเป็นพระยาศรีพิพัฒน์รัตนราชโกษาจางวางพระคลังสินค้า

ปราบกบฏหวันหมาดหลี

ในพ.ศ. 2382 กบฏหวันหมาดหลี หลานสองคน[2]ของสุลต่านตวนกูปะแงหรันแห่งไทรบุรีได้แก่ ตนกูมูฮาหมัดซาอัด (Tunku Muhammad Sa'ad) และตนกูมูฮาหมัดอากิบ (Tunku Muhammad Akib) ร่วมมือกับหวันหมาดหลีซึ่งเป็นโจรสลัดในทะเลอันดามัน นำทัพเรือเข้าบุกยึดเมืองไทรบุรีในเดือนมีนาคมพ.ศ. 2382 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าฯมีพระราชโองการให้พระยาศรีพิพัฒน์ฯ (ทัต) และเจ้าพระยายมราช (บุนนาค) ยกทัพเรือลงไปช่วยเจ้าพระยานครศรีธรรมราช (น้อย) ในการปราบกบฏไทรบุรี พระยาศรีพิพัฒน์ฯและเจ้าพระยายมราชยกทัพถึงเมืองสงขลาในเดือนเมษายน พบว่าพระภักดีบริรักษ์ (แสง) ได้ยึดเมืองไทรบุรีไว้ได้แล้ว

ขณะนั้นเกิดสงครามระหว่างสุลต่านมูฮัมหมัดที่ 2 (Muhammad II) แห่งกลันตัน และเต็งกูหลงไซนัลอะบิดิน (Tengku Long Zainal Abidin) เจ้าเมืองบังโกล (Banggol) หรือ "พระยาบาโงย" พระยาบาโงยยกทัพเข้าโจมตีเมืองกลันตัน สุลต่านมูฮัมหมัดแห่งกลันตันสู้ไม่ได้จึงมีหนังสือถึงพระยาศรีพิพัฒน์ฯ (ทัต) ขอความช่วยเหลือจากสยามเข้าช่วยปราบพระยาบาโงย พระยาศรีพิพัฒน์ฯมีตราเรียกให้ทั้งสุลต่านมูฮัมหมัดและพระยาบาโงยมาเจรจาสงบศึกกันที่เมืองสงขลา สุลต่านมูฮัมหมัดไม่ยอมมาและพระยาบาโงยหลบหนีไปตรังกานู พระยาศรีพิพัฒน์ฯจึงส่งพระยาไชยานำกำลังไปจับตัวสุลต่านมูฮัมหมัดมาพบพระยาศรีพิพัฒน์ฯที่เมืองสงขลา เมื่อสุลต่านมูฮัมหมัดยินยอมสงบศึกแล้ว พระยาศรีพิพัฒน์ฯจึงปล่อยตัวสุลต่านมูฮัมหมัดกลับไปยังกลันตันตามเดิม

เมื่อเจ้าพระยานครฯ (น้อย) ถึงแก่อสัญกรรมในเดือนพฤษภาคมพ.ศ. 2382 พระยาศรีพิพัฒน์ฯจึงจัดระเบียบการปกครองของไทรบุรีใหม่ โดยให้ตนกูอาหนุ่มขึ้นเป็นสุลต่านแห่งไทรบุรี และแบ่งรัฐไทรบุรีออกเป็นสามหน่วยการปกครองได้แก่สตูล ปะลิส และไทรบุรีเดิม ให้ตนกูมูฮัมหมัดอากิบเป็นเจ้าเมืองสตูล[3] ให้ตวนไซยิดฮุสเซน (Tuan Syed Hussein) เป็นเจ้าเมืองปะลิส หลังจากเสร็จสิ้นงานราชการที่หัวเมืองมลายูแล้ว พระยาศรีพิพัฒน์ฯจึงสร้างเจดีย์บนเขาเมืองสงขลาเรียกว่า "เจดีย์ขาว" เคียงคู่กับ "เจดีย์ดำ" ซึ่งเจ้าพระยาพระคลัง (ดิศ) ผู้เป็นพี่ชายได้สร้างขึ้นเมื่อยกทัพปราบหัวเมืองมลายูในพ.ศ. 2375

รับทูตอเมริกัน

ต่อมาในรัชกาลที่ 4 โปรดให้เรียกพระยาศรีพิพัฒน์รัตนราชโกษาว่า เจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ และโปรดเกล้าให้เป็น สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ ให้สำเร็จราชการทุกสิ่งในพระนคร รวมทั้งว่าที่พระคลังสินค้า คนทั่วไปนิยมเรียกท่านว่า "สมเด็จเจ้าพระยาองค์น้อย" (เรียกสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ พี่ชายของท่านว่าว่า "สมเด็จเจ้าพระยาองค์ใหญ่")

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ เป็นแม่กองสร้างวัดสุทัศน์เทพวราราม สร้างพระปรางค์ภูเขาทอง วัดสระเกศ สร้างวัดปทุมวนาราม สร้างพระอภิเนาว์นิเวศน์และพระที่นั่งไชยชุมพล ซ่อมพระที่นั่งสุทไธสวรรย์ ในพระบรมมหาราชวัง นอกจากนี้ท่านยังมีความสามารถในการเดินเรือ เป็นผู้ต่อเรือบาร์จ (เรือท้องแบน) ขนาด 300 ตัน และเรือสกูนเนอร์ ขนาด 200 ตัน ใช้เดินทางติดต่อค้าขายถึงศรีลังกา

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ ถึงแก่พิราลัยในปี พ.ศ. 2400 อายุ 66 ปี ขณะเป็นแม่กองสร้างสวนนันทอุทยานเป็นผลงานชิ้นสุดท้าย

เกียรติยศ

ธรรมเนียมยศของ
สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทัต บุนนาค)
ตราประจำตัว
การเรียนใต้พระบาทเจ้า
การแทนตนเกล้ากระหม่อม/หม่อมฉัน
การขานรับขอรับเหนือเกล้า/เจ้าค่ะ
ไฟล์:รูปหล่อ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทัด บุนนาค).jpeg
รูปหล่อ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทัดบุนนาค) ณ วัดพิชยญาติการามวรวิหาร

บุตรธิดา

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติมีบุตรธิดา ดังนี้

ท่านผู้หญิงน้อย

ท่านผู้หญิงน้อยเป็นธิดาพระยาสมบัติบาล (เสือ) กับคุณหญิงม่วง ธิดาเจ้าคุณพระราชพันธุ์ (ชูโต) พระเชษฐาใน สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินีใน รัชกาลที่ 1

  • พระสุริยภักดี (สนิท บุนนาค) สมรสกับคุณศรี ธิดาพระยาอุไทยธรรม (กลาง ณ บางช้าง) กับคุณหญิงน่วม พระยาอุไทยธรรม (กลาง ณ บางช้าง) เป็นบุตรที่ 2 ในพระยาสมุทรสงคราม (ศร ณ บางช้าง) และเจ้าคุณพระราชพันธุ์ (แก้ว) พระขนิษฐาในสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินีในรัชกาลที่ 1[4]
  • คุณชายกลาง บุนนาค
  • คุณชายแดง บุนนาค
  • เจ้าคุณตำหนักเดิม (นุ่ม บุนนาค)
  • คุณชายผูก บุนนาค
  • คุณหญิงแห บุนนาค
  • นายชิด มหาดเล็กวิเศษ
  • เจ้าคุณหญิงเป้า ภรรยาพระยามนตรีสุริยวงศ์ (ชุ่ม บุนนาค)
  • คุณชายนพ บุนนาค
  • คุณชายกระจ่าง บุนนาค
  • เจ้าคุณหญิงคลี่ บุนนาค
  • คุณชายโต บุนนาค

หม่อมหงิม

หม่อมหงิมเป็นหม่อมประทานจากสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าประไพวดี กรมหลวงเทพยวดี

  • เจ้าพระยาศรีพิพัฒน์ราชโกษา (แพ บุนนาค)
  • พระยาอิศรานุภาพ (เอี่ยม บุนนาค)
  • คุณหญิงลิ้นจี่ บุนนาค
  • พระยานานาพิธภาษี (โต บุนนาค)

หม่อมมิ่ง

หม่อมมิ่งเป็นหม่อมประทานจากสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าประไพวดี กรมหลวงเทพยวดี

  • คุณหญิงสวน บุนนาค รับราชการฝ่ายในเป็นพนักงานผ้าเหลือง
  • คุณหญิงนิ่ม บุนนาค
  • คุณหญิงลำเภา บุนนาค
  • พระยากลาโหมราชเสนา (ฉ่ำ บุนนาค)

หม่อมน้อย

หม่อมทรัพย์

  • คุณหญิงหุ่น ภรรยาพระยาวงศาภรณ์ภูษิต (เมฆ บุนนาค)

ภรรยาท่านอื่น ๆ

  • ท้าวศรีสัจจา (เลื่อน บุนนาค)
  • หม่อมมณฑา ในหม่อมเจ้าประทุมเสพย์ ฉัตรกุล

อ้างอิง

  1. http://www.bunnag.in.th/history7-home2.html
  2. https://www.royalark.net/Malaysia/kedah4.htm
  3. http://human.skru.ac.th/husoconference/conf/O16.pdf
  4. ลำดับราชินิกุลบางช้าง พิมพ์ในงานศพพระยาสุริยานุวงศ์ประวัติ (เต็น บุนนาค) ปีมะแม พ.ศ. 2462