ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฐ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ฐ''' (ฐาน หรือ สัณฐาน) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 16 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ฏ (ปฏัก) และก่อนหน้า ฑ (มนโฑ) ออกเสียงอย่าง ถ (ถุง) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรสูง ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ฐ ฐาน” (บางคนก็เรียกว่า ฐ สัณฐาน) อักษร ฐ มีเครื่องหมายอยู่ข้างใต้ เรียกว่า เชิง แต่นิยมตัดเชิงออกเป็น เมื่อเขียนคำที่มีสระอุ หรือสระอู
{{อักษรไทย1|ฐ}}
'''ฐ''' (ฐาน หรือ สัณฐาน) เป็น[[พยัญชนะ]] ตัวที่ 16 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของ[[อักษรไทย]] ในลำดับถัดจาก [[]] (ปฏัก) และก่อนหน้า [[]] (มนโฑ) ออกเสียงอย่าง ถ (ถุง) จัดอยู่ในกลุ่ม[[อักษรสูง]] ในระบบ[[ไตรยางศ์]] มีชื่อเรียกกำกับว่า “ฐ ฐาน” (บางคนก็เรียกว่า ฐ สัณฐาน) อักษร ฐ มีเครื่องหมายอยู่ข้างใต้ เรียกว่า เชิง แต่นิยมตัดเชิงออกเป็น {{ฐ}} เมื่อเขียนคำที่มีสระอุ หรือสระอู


อักษร เป็นได้ทั้ง
อักษร เป็นได้ทั้ง
อักษร "ฐ" ตรงกับตัวเทวนาครี "ठ" ภาษาฮินดีแทนด้วยเสียง[[เสียงกัก ปลายลิ้นม้วน ไม่ก้อง|เสียงกักปลายลิ้นม้วนไม่ก้องพ่นลม]] [ʈʰ] แต่ในภาษาไทยกลางและภาษาไทยใต้ พยัญชนะต้นให้เสียง [[เสียงกัก ปุ่มเหงือก ไม่ก้อง|[tʰ]]] และพยัญชนะตัวสะกดให้เสียง [[เสียงกัก ปุ่มเหงือก ไม่ก้อง|[t̚]]]
อักษร "ฐ" ตรงกับตัวเทวนาครี "ठ" ภาษาฮินดีแทนด้วยเสียงเสียงกักปลายลิ้นม้วนไม่ก้องพ่นลม [ʈʰ] แต่ในภาษาไทยกลางและภาษาไทยใต้ พยัญชนะต้นให้เสียง [tʰ] และพยัญชนะตัวสะกดให้เสียง [t̚]


== ในคอมพิวเตอร์ ==
== ในคอมพิวเตอร์ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:56, 6 พฤษภาคม 2563

(ฐาน หรือ สัณฐาน) เป็นพยัญชนะ ตัวที่ 16 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก ฏ (ปฏัก) และก่อนหน้า ฑ (มนโฑ) ออกเสียงอย่าง ถ (ถุง) จัดอยู่ในกลุ่มอักษรสูง ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า “ฐ ฐาน” (บางคนก็เรียกว่า ฐ สัณฐาน) อักษร ฐ มีเครื่องหมายอยู่ข้างใต้ เรียกว่า เชิง แต่นิยมตัดเชิงออกเป็น เมื่อเขียนคำที่มีสระอุ หรือสระอู

อักษร เป็นได้ทั้ง อักษร "ฐ" ตรงกับตัวเทวนาครี "ठ" ภาษาฮินดีแทนด้วยเสียงเสียงกักปลายลิ้นม้วนไม่ก้องพ่นลม [ʈʰ] แต่ในภาษาไทยกลางและภาษาไทยใต้ พยัญชนะต้นให้เสียง [tʰ] และพยัญชนะตัวสะกดให้เสียง [t̚]

ในคอมพิวเตอร์

ฐ และ ญ แบบมีเชิงและไม่มีเชิง

ฐุ ญุ รูปปกติ มีรหัสตาม TIS-620 ที่ 0xB0 และมีรหัสยูนิโค้ดที่ U+0E10

ฐ รูปที่ไม่มีเชิง มีการใช้เพื่อเขียนภาษาบาลีและสันสกฤต ไมโครซอฟท์เคยกำหนดให้ที่รหัส 0x80 ของ Windows-874[1] โดยต่อยอดมาจากส่วนขยายของ TIS-620 ในเครื่องแมคอินทอช[2] และบนยูนิโคด U+F700 ซึ่งอยู่ในช่วงพื้นที่ใช้งานส่วนตัว[3] อย่างไรก็ตามยูนิโคดไม่ได้กำหนดให้เป็นอักขระมาตรฐานที่ตำแหน่งนี้ อักษรรูปแบบนี้จึงใช้สำหรับการแสดงผลตามตรรกะเท่านั้น (เมื่อเติมสระอุ สระอู หรือพินทุ เช่นเดียวกับกรณี ญ ที่ไม่มีเชิง) ผู้ใช้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์เอกซ์พีลงมา สามารถป้อนรูปที่ไม่มีเชิงตัวเดียวได้โดยกดปุ่ม Alt ค้างไว้ ตามด้วยแป้นตัวเลข 128 (พิมพ์ตัวเลขที่ number pad ด้านขวามือของคีย์บอร์ด) ส่วนระบบปฏิบัติการรุ่นใหม่กว่าจะกลายเป็นเครื่องหมายยูโร

อ้างอิง

  1. 0x80 และ U+F700 ทั้งสองรหัสดูได้จากเครื่องมือ Character Map ในวินโดวส์
  2. Map (external version) from Mac OS Thai อธิบายเรื่องส่วนขยายของ TIS-620 ใน Mac OS
  3. Unicode Chart: Private Use Area