ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาวะเสียการอ่านเข้าใจ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 24: บรรทัด 24:


==สาเหตุ==
==สาเหตุ==
[[File:Inferior parietal lobule - superior view animation.gif|thumb|300px|Inferior parietal lobule (superior view). Some dyslexics demonstrate less electrical activation in this area.]]
[[ไฟล์:Inferior parietal lobule - superior view animation.gif|thumb|300px|Inferior parietal lobule (superior view). Some dyslexics demonstrate less electrical activation in this area.]]
นับตั้งแต่มีการบรรยายภาวะนี้เอาไว้ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1881 มีนักวิทยาศาสตร์จำนวนมากที่พยายามหาสาเหตุพื้นฐานทางระบบชีวประสาทของภาวะเสียการอ่านเข้าใจ<ref name="Oswald Berkhan ref 1" /><ref name="ReidFawcett2008x">{{cite book|author1=Reid, Gavin|author2=Fawcett, Angela|author3=Manis, Frank|author4=Siegel, Linda|title=The SAGE Handbook of Dyslexia|url=https://books.google.com/books?id=937rqz4Ryc8C&pg=PA127|year=2008|publisher=SAGE Publications|isbn=978-1-84860-037-9|page=127|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20170109200307/https://books.google.com/books?id=937rqz4Ryc8C&pg=PA127|archivedate=9 January 2017|df=dmy-all}}</ref> ตัวอย่างเช่น บางคนพยายามเชื่อมโยงภาวะที่ผู้ป่วยไม่สามารถมองเห็นตัวอักษรได้ชัดเจน (ซึ่งเป็นอาการที่พบบ่อยอย่างหนึ่งของภาวะเสียการอ่านเข้าใจ) เข้ากับความผิดปกติในการพัฒนาของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการมองเห็นภาพ เป็นต้น<ref name="Stein2014" >{{cite journal |first1=John |last1=Stein |year=2014 |title=Dyslexia: the Role of Vision and Visual Attention |journal=Current Developmental Disorders Reports |volume=1 |issue=4 |pages=267–80 |pmid=25346883 |pmc=4203994 |doi=10.1007/s40474-014-0030-6}}</ref>
นับตั้งแต่มีการบรรยายภาวะนี้เอาไว้ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1881 มีนักวิทยาศาสตร์จำนวนมากที่พยายามหาสาเหตุพื้นฐานทางระบบชีวประสาทของภาวะเสียการอ่านเข้าใจ<ref name="Oswald Berkhan ref 1" /><ref name="ReidFawcett2008x">{{cite book|author1=Reid, Gavin|author2=Fawcett, Angela|author3=Manis, Frank|author4=Siegel, Linda|title=The SAGE Handbook of Dyslexia|url=https://books.google.com/books?id=937rqz4Ryc8C&pg=PA127|year=2008|publisher=SAGE Publications|isbn=978-1-84860-037-9|page=127|deadurl=no|archiveurl=https://web.archive.org/web/20170109200307/https://books.google.com/books?id=937rqz4Ryc8C&pg=PA127|archivedate=9 January 2017|df=dmy-all}}</ref> ตัวอย่างเช่น บางคนพยายามเชื่อมโยงภาวะที่ผู้ป่วยไม่สามารถมองเห็นตัวอักษรได้ชัดเจน (ซึ่งเป็นอาการที่พบบ่อยอย่างหนึ่งของภาวะเสียการอ่านเข้าใจ) เข้ากับความผิดปกติในการพัฒนาของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการมองเห็นภาพ เป็นต้น<ref name="Stein2014" >{{cite journal |first1=John |last1=Stein |year=2014 |title=Dyslexia: the Role of Vision and Visual Attention |journal=Current Developmental Disorders Reports |volume=1 |issue=4 |pages=267–80 |pmid=25346883 |pmc=4203994 |doi=10.1007/s40474-014-0030-6}}</ref>
===ประสาทกายวิภาคศาสตร์===
===ประสาทกายวิภาคศาสตร์===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:42, 30 เมษายน 2563

ภาวะเสียการอ่านเข้าใจ
(Dyslexia)
ชื่ออื่นReading disorder, alexia
An example of OpenDyslexic typeface, used to try to help with common reading errors in dyslexia.[1]
สาขาวิชาNeurology, pediatrics
อาการTrouble reading[2]
การตั้งต้นSchool age[3]
สาเหตุGenetic and environmental factors[3]
ปัจจัยเสี่ยงFamily history, attention deficit hyperactivity disorder[4]
วิธีวินิจฉัยSeries memory, spelling, vision, and reading test[5]
โรคอื่นที่คล้ายกันHearing or vision problems, insufficient teaching[3]
การรักษาAdjusting teaching methods[2]
ความชุก3–7% [3][6]

ภาวะเสียการอ่านเข้าใจ หรือ ภาวะเสียการอ่านรู้ความ[7] หรือภาวะอ่านไม่เข้าใจ[8] (อังกฤษ: dyslexia) เป็นความพิการทางการเรียนรู้รูปแบบหนึ่งที่ทำให้ผู้ป่วยมีปัญหาทั้งความคล่องแคล่วและความแม่นยำในการอ่าน การพูด และการสะกดคำ ซึ่งอาจแสดงอาการเป็นความยากลำบากในการรับรู้เสียง การถอดรหัสเสียง การเข้าใจตัวอักษร ความจำเสียงระยะสั้น และ/หรือการเรียกชื่อสิ่งของ ซึ่งไม่เหมือนกันกับภาวะอ่านลำบากที่เกิดจากสาเหตุอื่น เช่นความพิการทางตาหรือการได้ยินหรือจากการไม่ได้เรียนรู้วิธีอ่านหนังสือ เชื่อว่ามีผู้ที่มีภาวะอ่านไม่เข้าใจอยู่ 5-10% ของประชากรหนึ่งๆ แม้จะยังไม่มีการศึกษาวิจัยหาความชุกที่แท้จริงของภาวะนี้ก็ตาม

สาเหตุ

Inferior parietal lobule (superior view). Some dyslexics demonstrate less electrical activation in this area.

นับตั้งแต่มีการบรรยายภาวะนี้เอาไว้ครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1881 มีนักวิทยาศาสตร์จำนวนมากที่พยายามหาสาเหตุพื้นฐานทางระบบชีวประสาทของภาวะเสียการอ่านเข้าใจ[9][10] ตัวอย่างเช่น บางคนพยายามเชื่อมโยงภาวะที่ผู้ป่วยไม่สามารถมองเห็นตัวอักษรได้ชัดเจน (ซึ่งเป็นอาการที่พบบ่อยอย่างหนึ่งของภาวะเสียการอ่านเข้าใจ) เข้ากับความผิดปกติในการพัฒนาของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการมองเห็นภาพ เป็นต้น[11]

ประสาทกายวิภาคศาสตร์

อ้างอิง

  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Renske
  2. 2.0 2.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ ninds1
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Lancet2012
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ NIH2014Def
  5. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ NIH2015Diag
  6. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Koo2013
  7. ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน พิมพ์คำว่า dyslexia
  8. บัญชีจำแนกโรคระหว่างประเทศ ฉบับประเทศไทย (อังกฤษ-ไทย) ฉบับปี 2009. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข, 2552.
  9. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Oswald Berkhan ref 1
  10. Reid, Gavin; Fawcett, Angela; Manis, Frank; Siegel, Linda (2008). The SAGE Handbook of Dyslexia. SAGE Publications. p. 127. ISBN 978-1-84860-037-9. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 มกราคม 2017. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  11. Stein, John (2014). "Dyslexia: the Role of Vision and Visual Attention". Current Developmental Disorders Reports. 1 (4): 267–80. doi:10.1007/s40474-014-0030-6. PMC 4203994. PMID 25346883.

แหล่งข้อมูลอื่น

การจำแนกโรค
ทรัพยากรภายนอก