ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โอลิมปิกฤดูร้อน 1928"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ahcuna (คุย | ส่วนร่วม)
Ahcuna (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 89: บรรทัด 89:
|1||align=left| {{FlagIOC|USA|ฤดูร้อน 1928}} ||'''22'''||'''18'''||'''16'''||'''56'''
|1||align=left| {{FlagIOC|USA|ฤดูร้อน 1928}} ||'''22'''||'''18'''||'''16'''||'''56'''
|-
|-
|2||align=left| {{FlagIOC|Germany|ฤดูร้อน 1928}} ||10||7||14||31
|2||align=left| {{FlagIOC|GER|ฤดูร้อน 1928}} ||10||7||14||31
|-
|-
|3||align=left| {{FlagIOC|Finland|ฤดูร้อน 1928}} ||8||8||9||25
|3||align=left| {{FlagIOC|Finland|ฤดูร้อน 1928}} ||8||8||9||25

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:09, 26 เมษายน 2563

กีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ ๙
Olympische Zomerspelen van de VIIIe Olympiade
เมืองเจ้าภาพเนเธอร์แลนด์ อัมสเตอร์ดัม เนเธอร์แลนด์
ประเทศเข้าร่วม46
นักกีฬาเข้าร่วม3,014 (2,724 ชาย 290 หญิง)
กีฬา14 ชนิด
พิธีเปิด16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2471
พิธีปิด2 ธันวาคม พ.ศ. 2471
ประธานพิธีเจ้าชายเฮนรี
(เจ้าชายพระราชสวามีแห่งเนเธอร์แลนด์)
นักกีฬาปฏิญาณเรเชลล์ ฮอว์กส์
ผู้ตัดสินปฏิญาณปีเตอร์ เคอรร์
สนามกีฬาหลักสนามกีฬาโอลิมปิก

มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 9 ประจำปี ค.ศ. 1928 (พ.ศ. 2471) เป็นมหกรรมกีฬาโอลิมปิกครั้งแรกที่ทางคณะกรรมการโอลิมปิกสากล (IOC) ได้ทำการย่นระยะเวลาการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกลงเหลือเพียง 17 วัน ก่อนหน้านั้นการแข่งขันจะกินเวลาเป็นเดือน การแข่งขันครั้งนี้ประเทศที่เป็นเจ้าภาพมีความหวังที่จะได้ชัยชนะในกีฬาฟุตบอล แต่ก็ต้องพลาดหวังเมื่ออุรุกวัยและอาร์เจนตินาได้เข้าชิงชนะเลิศ Paavo Nurmi ได้รับการยกย่องเป็นเจ้าแห่งการแข่งขันวิ่งระยะไกลอีกครั้งหนึ่ง ส่วนสหรัฐอเมริกาได้ครองเหรียญทองถึง 6 เหรียญจากทั้งหมด 11 เหรียญทองของการแข่งขันว่ายน้ำ โอลิมปิกครั้งนี้มีประเทศที่เริ่มฉายแววทางกีฬาเพิ่มขึ้นมาคือ ญี่ปุ่น อีกทั้งยังเป็นโอลิมปิกครั้งแรกที่มีการจัดการแข่งขันกรีฑาหญิง

ประเทศที่เข้าร่วมแข่งขัน

แผนที่แสดงประเทศที่เข้าร่วมแข่งขัน
คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติที่เข้าแข่งขัน

สรุปเหรียญการแข่งขัน

ตารางสรุปเหรียญรางวัล 10 อันดับแรก
 อันดับ  ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 สหรัฐ 22 18 16 56
2 เยอรมนี 10 7 14 31
3 ฟินแลนด์ 8 8 9 25
4 สวีเดน 7 6 12 25
5 อิตาลี 7 5 7 19
6 สวิตเซอร์แลนด์ 7 4 4 15
7 ฝรั่งเศส 6 10 5 21
8 เนเธอร์แลนด์ (เจ้าภาพ) 6 9 4 19
9 ฮังการี 4 5 0 9
10 แคนาดา 4 4 7 15

อ้างอิง