ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มารีโอ ตามัญโญ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kooper.co (คุย | ส่วนร่วม)
Kooper.co (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 50: บรรทัด 50:
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
3.[https://kooper.co/th-mario-tamagno-architecture-in-thailand/ มาริโอ ตามาญโญ สถาปนิกอิตาเลียนผู้อยู่เบื้องหลังสถาปัตยกรรมระดับไอคอนหลายแห่งของไทย], kooper.co 10/04/2020
3.[https://kooper.co/th-mario-tamagno-architecture-in-thailand/ มาริโอ ตามาญโญ สถาปนิกอิตาเลียนผู้อยู่เบื้องหลังสถาปัตยกรรมระดับไอคอนหลายแห่งของไทย], kooper.co วันที่ 10 เม.ย. 2563


[[หมวดหมู่:ชาวอิตาลีในประเทศไทย]]
[[หมวดหมู่:ชาวอิตาลีในประเทศไทย]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:09, 16 เมษายน 2563

มารีโอ ตามัญโญ
ไฟล์:Tamanyo.jpg
เกิด19 มิถุนายน พ.ศ. 2420
 อิตาลี
เสียชีวิตพ.ศ. 2484
สัญชาติอิตาลี
ศิษย์เก่าสถาบันศิลปะอัลแบร์ทีน[1]
ผลงานสำคัญ

มารีโอ ตามัญโญ (อังกฤษ: Mario Tamagno) (เกิด 19 มิถุนายน พ.ศ. 2420 - พ.ศ. 2484) เป็นสถาปนิกชาวอิตาลี เกิดที่เมืองตูริน ประเทศอิตาลี เข้ารับราชการในกระทรวงโยธาธิการแห่งประเทศสยามเมื่อปี พ.ศ. 2443 โดยมีสัญญาว่าจ้างเป็นเวลา 25 ปี

นายมารีโอ ตามัญโญ มีผลงานออกแบบสถาปัตยกรรมในประเทศไทยที่สำคัญหลายแห่ง ในสมัยรัชกาลที่ 5 ทั้ง สะพานมัฆวานรังสรรค์, พระที่นั่งอนันตสมาคม, วังปารุสกวัน, ท้องพระโรงวังสวนกุหลาบ, สถานีรถไฟกรุงเทพ, บ้านพิษณุโลก (ชื่อเดิมคือ บ้านบรรทมสินธุ์), พระตำหนักเมขลารุจี ภายในพระราชวังพญาไท, ตึกไทยคู่ฟ้าทำเนียบรัฐบาล (ชื่อเดิมคือ ตึกไกรสร), ห้องสมุดนีลเซนเฮส์ เป็นต้น[2]

ผลงานการออกแบบ

ตัวอักษรหัวเรื่อง

อ้างอิง

3.มาริโอ ตามาญโญ สถาปนิกอิตาเลียนผู้อยู่เบื้องหลังสถาปัตยกรรมระดับไอคอนหลายแห่งของไทย, kooper.co วันที่ 10 เม.ย. 2563