ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลวงชำนาญนิติเกษตร (อุทัย แสงมณี)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 13: บรรทัด 13:


== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
{{ป.ช.|2497}}<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2497/D/084/2807.PDF แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์]</ref>
{{ท.ช.|2482}}<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2482/D/1799.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์]</ref>
{{ท.ช.|2482}}<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2482/D/1799.PDF แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์]</ref>



รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:15, 14 เมษายน 2563

หลวงชำนาญนิติเกษตร

รองอำมาตย์เอก หลวงชำนาญนิติเกษตร เดิมชื่อ อุทัย แสงมณี เป็นรัฐมนตรีช่วยว่ากระทรวงยุติธรรม ในคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 9 โดยมีจอมพล แปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 15 โดยมีปรีดี พนมยงค์ เป็นนายกรัฐมนตรี และเป็นสมาชิกคณะราษฎรสายพลเรือน

ประวัติ

ชีวิตครอบครัว

หลวงชำนาญนิติเกษตร เดิมชื่อ อุทัย แสงมณี สมรสกับท่านหญิงคันธรสรังษี แสงมณี[1] (พระนามเดิม: หม่อมเจ้าคันธรสรังษี รพีพัฒน์) พระธิดาในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ และหม่อมแดง รพีพัฒน์ ณ อยุธยา แต่ไม่มีบุตรธิดาด้วยกัน

การทำงาน

ในปี พ.ศ. 2477 รัฐบาลสยามได้จัดประกวดเนื้อร้องเพลงชาติใหม่ โดยมีคณะกรรมการพิจารณาเพลงชาติ โดยหนึ่งในนั้นประกอบด้วย หลวงชำนาญนิติเกษตร ต่อมาเขาได้เป็นหัวหน้าสำนักงานโฆษณาการ (พ.ศ. 2479-2480)[2] ในปี พ.ศ. 2484 หลวงชำนาญนิติเกษตร ได้เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงยุติธรรม ตั้งแต่วันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2484 - 26 กันยายน พ.ศ. 2484 และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ตั้งแต่วันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2484 - 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2485 โดยเป็นผู้ประเดิมตำแหน่งเป็นคนแรกทั้งสองตำแหน่ง

ในปี พ.ศ. 2489 ก็ได้ดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของไทย ในรัฐบาลปรีดี พนมยงค์[3]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง