ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อองซาน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8417193 สร้างโดย 2403:6200:88A2:E960:C0F:D60C:2A56:D353 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 76: บรรทัด 76:
[[หมวดหมู่:ชาวพม่าที่ถูกลอบสังหาร]]
[[หมวดหมู่:ชาวพม่าที่ถูกลอบสังหาร]]
[[หมวดหมู่:เสียชีวิตจากอาวุธปืน]]
[[หมวดหมู่:เสียชีวิตจากอาวุธปืน]]
[[หมวดหมู่:รัฐพม่า]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:41, 23 มีนาคม 2563

พลตรี
อองซาน
အောင်ဆန်း
ผู้นำคนที่ 5 แห่งพม่าของบริเตน
รองประธานคณะผู้บริหารระดับสูงของพม่า
ดำรงตำแหน่ง
26 กันยายน ค.ศ. 1946 – 19 กรกฎาคม ค.ศ. 1947
ก่อนหน้าSir Paw Tun
ถัดไปอู้นุ (เป็นนายกรัฐมนตรี)
ประธานสันนิบาตเสรีภาพประชาชนต่อต้านฟาสซิสต์
ดำรงตำแหน่ง
27 มีนาคม ค.ศ. 1945 – 19 กรกฎาคม ค.ศ. 1947
ก่อนหน้าไม่มี
ถัดไปอู้นุ
รัฐมนตรีว่าการสงครามแห่งพม่า
ดำรงตำแหน่ง
1 สิงหาคม ค.ศ. 1943 – 27 มีนาคม ค.ศ. 1945
ก่อนหน้าไม่มี
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด
Htein Lin

13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1915(1915-02-13)
Natmauk, เขตมะกเว, พม่าภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร
เสียชีวิต19 กุรกฎาคม ค.ศ. 1947
ย่างกุ้ง, พม่าภายใต้การปกครองของสหราชอาณาจักร
ลักษณะการเสียชีวิตถูกลอบสังหาร
ที่ไว้ศพMartyrs' Mausoleum, ประเทศพม่า
เชื้อชาติพม่า
ศาสนาพุทธเถรวาท
พรรคการเมืองสันนิบาตเสรีภาพประชาชนต่อต้านฟาสซิสต์
พรรคคอมมิวนิสต์พม่า
คู่สมรสKhin Kyi (สมรส 1942)
บุตรAung San Oo
Aung San Lin
Aung San Suu Kyi
Aung San Chit
ญาติU Pha (พ่อ)
Daw Suu (แม่)
Ba Win (พี่/น้องชาย)
Aung Than (พี่/น้องชาย)
Sein Win (หลานชาย)
Alexander Aris (หลานชาย)
ศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยย่างกุ้ง
โรงเรียนมัธยมในเยนานช่อง
อาชีพนักการเมือง, พลตรี
ลายมือชื่อ
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง
รับใช้Burma National Army
สันนิบาตเสรีภาพประชาชนต่อต้านฟาสซิสต์
พรรคคอมมิวนิสต์พม่า
ยศพลตรี (เป็นยศที่สูงสุดในสมัยนั้น)

พลตรี อองซาน (พม่า: အောင်ဆန်း, ออกเสียง: [àʊɴ.sʰáɴ]) หรือ อู้อองซาน (ဦးအောင်ဆန်း; 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2458 – 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2490) เป็นนักปฏิวัติ นายพล และนักการเมืองของประเทศพม่า ได้รับการยกย่องเป็นบิดาแห่งประเทศพม่าในยุคปัจจุบัน หรือ "วีรบุรุษเพื่ออิสรภาพของประเทศพม่า"[1]

อองซานเกิดในครอบครัวที่ต่อต้านการปกครองของสหราชอาณาจักร ซึ่งในช่วงนั้นพม่าเป็นส่วนหนึ่งของประเทศอินเดียที่เป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักร เข้าศึกษาที่มหาวิทยาลัยย่างกุ้ง ซึ่งได้แสดงความเคลื่อนไหวทางการเมือง และได้รับเลือกให้เป็นผู้นำนักศึกษา

พ.ศ. 2484 (ค.ศ. 1941) อองซานได้รับการสนับสนุนจากประเทศญี่ปุ่น โดยได้ก่อตั้งกองกำลังปลดปล่อยพม่าที่กรุงเทพมหานคร ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นสามารถยึดพม่าจากสหราชอาณาจักรได้และวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2486 (ค.ศ. 1943) ญี่ปุ่นได้ประกาศว่าพม่าเป็นประเทศเอกราช และตั้งอองซานเป็นนายกรัฐมนตรี

อองซานพบว่าเอกราชที่ญี่ปุ่นสัญญาไว้ไม่เป็นความจริง ในช่วงปลายสงครามโลก จึงได้กลับไปเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรเพื่อขับไล่ญี่ปุ่นออกไปจากพม่า

ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2490 (ค.ศ. 1947) อองซานเซ็นสัญญากับสหราชอาณาจักรว่าจะมอบเอกราชให้กับพม่าภายในหนึ่งปี แต่ระหว่างการประชุมสภาเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 อองซานถูกลอบสังหารพร้อมกับสมาชิกสภาอีก 6 คน โดยพบว่าเป็นฝีมือของอู้ซอซึ่งเป็นคู่แข่งทางการเมืองของอองซาน อู้ซอถูกประหารชีวิต อองซานเสียชีวิตเมื่อมีอายุแค่เพียง 32 ปี และยังไม่ทันเห็นเอกราชของพม่าในวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948)

ปัจจุบัน อองซานซูจี บุตรสาวของอองซาน เป็นผู้นำที่มีบทบาทสำคัญในรัฐบาลพลเรือนของพม่า[2]

อ้างอิง

  1. ภารกิจต่อแผ่นดิน : อองซานซูจี
  2. Maung Maung (1962). Aung San of Burma. The Hauge: Martinus Nijhoff for Yale University. pp. 22, 23.