ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไวยากรณ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{รอการตรวจสอบ}}
'''ไวยากรณ์''' ({{lang-en|grammar}}) คือ การศึกษากฎเกณฑ์ของ[[ภาษา]] ซึ่งรวมถึง [[เสียง]] คำศัพท์ [[ประโยค]] และส่วนประกอบอื่น ๆ เช่น การประสมคำ และการตีความ คำว่าไวยากรณ์ยังหมายถึงคุณลักษณะเชิงนามธรรมของตำราที่นำเสนอกฎเหล่านี้ด้วย
'''ไวยากรณ์''' ({{lang-en|grammar}}) คือ 5การศึกษากฎเกณฑ์ของ[[ภาษา]] ซึ่งรวมถึง [[เสียง]] คำศัพท์ [[ประโยค]] และส่วนประกอบอื่น ๆ เช่น การประสมคำ และการตีความ คำว่าไวยากรณ์ยังหมายถึงคุณลักษณะเชิงนามธรรมของตำราที่นำเสนอกฎเหล่านี้ด้วย


สำหรับคำว่า '''หลักภาษา''' แม้จะมีความหมายเดียวกันกับคำวำไวยากรณ์ แต่จะใช้เรียกกับ[[ภาษาไทย]]และ[[ภาษาไทยถิ่นใต้|ภาษาไทยใต้]]เท่านั้น
สำหรับคำว่า '''หลักภาษา''' แม้จะมีความหมายเดียวกันกับคำวำไวยากรณ์ แต่จะใช้เรียกกับ[[ภาษาไทย]]และ[[ภาษาไทยถิ่นใต้|ภาษาไทยใต้]]เท่านั้น

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:36, 20 มีนาคม 2563

ไวยากรณ์ (อังกฤษ: grammar) คือ 5การศึกษากฎเกณฑ์ของภาษา ซึ่งรวมถึง เสียง คำศัพท์ ประโยค และส่วนประกอบอื่น ๆ เช่น การประสมคำ และการตีความ คำว่าไวยากรณ์ยังหมายถึงคุณลักษณะเชิงนามธรรมของตำราที่นำเสนอกฎเหล่านี้ด้วย

สำหรับคำว่า หลักภาษา แม้จะมีความหมายเดียวกันกับคำวำไวยากรณ์ แต่จะใช้เรียกกับภาษาไทยและภาษาไทยใต้เท่านั้น

การศึกษาทฤษฎีทางไวยากรณ์เป็นที่สนใจของนักปรัชญา นักมานุษยวิทยา นักจิตวิทยา และนักวิเคราะห์ทางวรรณกรรมมาหลายศตวรรษ ทุกวันนี้ ไวยากรณ์เป็นสาขาหนึ่งในวิชาภาษาศาสตร์ แต่ยังคงมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสาขาอื่น ๆ แต่โดยส่วนใหญ่แล้ว พัฒนาการของทฤษฎีไวยากรณ์นั้นมีผลเพียงเล็กน้อยแต่ตัวเนื้อหาของไวยากรณ์ในสถานศึกษาทั่วไป สำหรับคนส่วนใหญ่ มักจะเข้าใจว่าไวยากรณ์หมายถึงกฎที่เราจะต้องทราบเพื่อจะพูดหรือเขียนได้อย่างถูกต้อง

ดูเพิ่ม