ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถั่วแระ เชิญยิ้ม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thanphon Phanyiam (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Super Italian (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 202: บรรทัด 202:
| align = "center"| รับเชิญ
| align = "center"| รับเชิญ
|-
|-
| rowspan = "1" | [[ พ.ศ. 2553]] || align = "center"| "[[โป๊ะแตก]]" || align = "center"| ถั่วแระ || align = "center"|
| rowspan = "2" | [[ พ.ศ. 2553]] || align = "center"| "[[โป๊ะแตก]]" || align = "center"| ถั่วแระ || align = "center"|
|-
| align = "center"|[[หลวงพี่เท่ง 3]]
| align = "center"|ชาวบ้าน
| align = "center"|รับเชิญ
|-
|-
|}
|}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:46, 17 มีนาคม 2563

ถั่วแระ เชิญยิ้ม
ถั่วแระ เชิญยิ้ม ในชุดแต่งกายแบบไทยสมัยโบราณ
ถั่วแระ เชิญยิ้ม ในชุดแต่งกายแบบไทยสมัยโบราณ
สารนิเทศภูมิหลัง
เกิด13 มกราคม พ.ศ. 2496 (71 ปี)
ศรสุทธา กลั่นมาลี
อาชีพนักแสดงตลก, ผู้นำเชียร์
ผลงานเด่นนายกสมาคมศิลปินตลกแห่งประเทศไทย (2549-2560)
ThaiFilmDb

ถั่วแระ เชิญยิ้ม ชื่อจริงคือ ศรสุทธา กลั่นมาลี (13 มกราคม พ.ศ. 2496 – ) เป็นนักแสดงตลกชาวไทย มีลักษณะเด่นคือไว้หนวดเครา และโพกผ้าคาดศีรษะ มุกตลกประจำตัวคือมุกปากเหม็น มีบทบาทเด่นในการนำเชียร์กีฬาให้กับทีมไทยในการแข่งขันกีฬาระดับชาติหรือระดับโลก ปัจจุบันมีกิจการร้านอาหาร "ครัวถั่วแระ"

ประวัติ

ถั่วแระ เชิญยิ้ม เป็นคนกรุงเทพเป็นลูกคนสุดท้องในตระกูลจบชั้นประถมจากโรงเรียน ผะดุงศิษย์พิทยา ต่อมัธยมต้นชื่อโรงเรียนสาธิตวัดพระศรีมหาธาตุและจบปวช.ที่วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหกพอจบออกมาเขาก็ได้เล่นมายากลอยู่ในสวนอาหาร ต่อมาได้ไปเล่นตลกกับ เด่น บิ๊กโจ๊ก (ดอกประดู่) ชื่อในวงการคือ ปาน บิ๊กโจ๊ก แต่ลาออกมาอยู่กับ โน้ต เชิญยิ้ม และแยกตัวมาตั้งคณะของตัวเองจนถึงปัจจุบัน

ถั่วแระถือเป็นมาสคอทของการเชียร์กีฬาไทย โดยมักใส่ชุดนักรบไทยโบราณเวลาเชียร์ สร้างสีสันในกองเชียร์ได้อย่างดีทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติในสนาม ได้ไปเชียร์นักกีฬาทีมชาติไทยมาแล้วในรายการใหญ่ เช่น โอลิมปิกฤดูร้อน ครั้งที่ 28 และ 29 ที่ กรีซ และ สาธารณรัฐประชาชนจีน และ เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 14 และ 15 ที่ เกาหลีใต้ และ กาตาร์ โดยในบางครั้งจะมีเพื่อนร่วมเชียร์ที่ร่วมสร้างสีสันด้วย เช่น โดโด้ แขนควง

สมาชิกในคณะ ถั่วแระ เชิญยิ้ม

  • นุ้ย เชิญยิ้ม [ต่อมาถั่วแระมอบหมายให้เขาเป็นหัวหน้าคณะตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551] (พ.ศ. 2542 – 2550)
  • ชูศรี เชิญยิ้ม [ในฐานะหัวหน้าคนสนิทในขณะนั้น] (พ.ศ. 2542 – 2544)
  • หน่อย เชิญยิ้ม (พ.ศ. 2542 – 2545 ปรากฏมาบ้างเป็นครั้งคราวก่อนจะกลับมาอยู่กับนุ้ยอีกครั้งใน 2550)
  • โป๊งเหน่ง เชิญยิ้ม (พ.ศ. 2543 – 2550)
  • ต่าย เชิญยิ้ม (พ.ศ. 2544 – 2550)
  • จั๊กกะบุ๋ม เชิญยิ้ม (พ.ศ. 2544 – 2550)
  • เจมส์ เชิญยิ้ม (พ.ศ. 2544 – 2547)
  • หลุยส์ ชวนชื่น (พ.ศ. 2546 – 2550)
  • ไจแอนท์ เชิญยิ้ม (พ.ศ. 2546 – 2550)
  • โจอี้ เชิญยิ้ม (พ.ศ. 2548 – 2550)
  • เฉิ่น เชิญยิ้ม (พ.ศ. 2547 – 2549)
  • สมส่วน เชิญยิ้ม (พ.ศ. 2542 – 2550)
  • เร้กเก้ เชิญยิ้ม (พ.ศ. 2542 – 2550)
  • กบ สามช่า (พ.ศ. 2544 – 2550)
  • อุทิศ บ้านโป่ง (พ.ศ. 2547 – 2548)
  • ช้าง ชวนชื่น (พ.ศ. 2546 – 2548)
  • เจ้กิ๊ฟ โคกคูน (พ.ศ. 2542 – 2544)
  • จ๊ะเอ๋ เชิญยิ้ม (พ.ศ. 2542 – 2544)
  • ชูแว๊บ สกอร์เปี้ยน (พ.ศ. 2546 – 2548)
  • โอเลี้ยง เชิญยิ้ม (พ.ศ. 2543 – 2544)

ผลงาน

ละครโทรทัศน์

ปี พ.ศ. เรื่อง ออกอากาศ รับบทเป็น หมายเหตุ
2527 ตราไว้ในดวงจิต ช่อง 7
2530 พระอภัยมณี ช่อง 7 ชีเปลือย
2530 เทพสามฤดู ช่อง 7 ไอ้งั่ง


2533 หัวใจกุ๊กกิ๊ก ช่อง 5
2539 เซ่อ ซ่า ฮา บ๊อง ช่อง 9
ดาวเรือง ช่อง 3
2541 สะพานรักสารสิน ช่อง 3
2543 ปลาร้าทรงเครื่อง ช่อง 3 นายแระ รับเชิญ
2544 ทองพูน โคกโพ ราษฎรเต็มขั้น ช่อง 3
2546 ผู้ใหญ่ลีกับนางมา ช่อง ITV
บ้านนี้ผี(ไม่)ปอบ ช่อง 3
2547 คู่กรรม ช่อง 3
2548 รุ้งเคียงดาว ช่อง 7
สุภาพบุรุษตีนควาย ช่อง 3
2549 พ่อครัวหัวป่าก์ ช่อง ITV เชฟโรเบิร์ต / ลุงเชฟ
อนิลทิตา ช่อง 7
นางสาวสัปเหร่อ ช่อง 3
2551 หีบหลอนซ่อนวิญญาณ ช่อง 5 อุ๊ยทา align="center"|
2552 ดิน น้ำ ลม ไฟ ช่อง 3
โก๊ะซ่า ท้ามิติ ช่อง 7 แม่ทัพใหญ่
2553 เหนือเมฆ ช่อง 3
2554 ตะวันเดือด ช่อง 3
โก๊ะ ๗ ช่อง 7
2555 ยอดรักนักสู้ ช่อง 3 ลุงเพิ่ม
นางสิงห์สะบัดช่อ ช่อง 5 เถ้าแก่ตง
เหนือเมฆ 2 มือปราบจอมขมังเวทย์ ช่อง 3 ดาบแหบ
2556 ไอ้คุณผี ช่อง 3 ลุงเป้า
2557 รถไฟ เรือเมล์ ลิเก กองถ่าย ช่อง 3 น้าเอิบ รับเชิญ
2559 สัญญาเมื่อสายัณห์ พีพีทีวี
ชาติพยัคฆ์ ช่อง 3 ตาสังข์
ฝายน้ำใจ ช่อง 5 กำนันมานะ
2560 หมอเทวดา ช่อง 3 เอสดี คนบ้าที่มาป่วนงานสะเดาะเคราห์ของแม่หมอเจริญขวัญ รับเชิญ
หัวใจเดียวกัน True4U
บ่วงนาคราช ช่อง 5

ซิทคอม

ปี พ.ศ. เรื่อง ออกอากาศ บทบาท หมายเหตุ
2545 - 2559 เฮง เฮง เฮง ช่อง 3, ช่องวัน
25 โอม…มหาจรวย ช่อง
2560 ระเบิดเถิดเทิงแดร็กคูล่าหารัก ช่องเวิร์คพอยท์ ยมทูต
มาวัดกันมั้ย ช่องวัน หลวงพ่อ
2561 สภากาแฟ 4.0 ช่อง 34 ผู้คุมกฎคนใหม่ รับเชิญ

ภาพยนตร์

ภาพยนตร์
พ.ศ. เรื่อง รับบทเป็น หมายเหตุ
พ.ศ. 2535 จะกู่รักกอดน้องให้ก้องโลก
พ.ศ. 25 สมศรี โปรแกรม D ปีนี้มีน้อง ถั่วแระ
พ.ศ. 2544 มือปืน/โลก/พระ/จัน ผี ไรเฟิล
พ.ศ. 2545 ผีหัวขาด เฮียย้ง
พ.ศ. 2546 คนปีมะ เดวิด
พ.ศ. 2547 ผีหัวขาด 2 ผีหัวขาด
พ.ศ. 2548 หลวงพี่เท่ง เถ้าแก่เส็ง รับเชิญ
ก็เคยสัญญา หมอผี
พ.ศ. 2549 ลูกตลกตกไม่ไกลต้น พ่อของมะเหมี่ยว
พ.ศ. 2550 เวิ้งปีศาจ หมอผีแก้ว
พ.ศ. 2551 บ้านผีเปิบ ผู้ช่วยกลิ่น
ว้อ หมาบ้ามหาสนุก สายัณห์ (เหยื่อคนแรกของหมาว้อ) รับเชิญ
พ.ศ. 2553 "โป๊ะแตก" ถั่วแระ
หลวงพี่เท่ง 3 ชาวบ้าน รับเชิญ

รางวัล

  • รางวัลดาวเมขลา สาขาผู้บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม (2559)[1]

อ้างอิง

  1. "ดาวเมขลา ปี 59 มอบรางวัล ศิลปินคนดีศรีสังคมปีมหามงคล ปอ-ทฤษฎี สหวงษ์". ข่าวสดออนไลน์. 30 มีนาคม พ.ศ. 2559. สืบค้นเมื่อ 30 มีนาคม 2559. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น