ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทยเอฟเอคัพ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Portalian (คุย | ส่วนร่วม)
Yusni5127 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
}}
}}


'''ไทยเอฟเอคัพ''' ({{lang-en|Thai FA Cup}}) เป็นการแข่งขัน[[ฟุตบอล]]ถ้วยระดับสูงใน[[ประเทศไทย]] จัดขึ้นโดย[[สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์]] เริ่มแข่งขันเป็นครั้งแรกเมื่อปี [[พ.ศ. 2513]] และพักการแข่งขันไปตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2543]] ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2552]] สมาคมฯ กลับมาจัดแข่งขันอีกครั้ง ปัจจุบัน (ตั้งแต่[[พ.ศ. 2558|ฤดูกาล 2558]]) เปลี่ยนผู้สนับสนุนหลัก จากมูลนิธิไทยคม มาเป็น[[บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน)]] ซึ่งเป็นผู้ผลิต[[เบียร์ช้าง]] จึงมีชื่อเรียกว่า ''ช้าง เอฟเอคัพ'' รูปแบบการแข่งขันเป็นระบบแพ้คัดออก (Knock-out) โดยกำหนดสัดส่วนของสโมสรฟุตบอลที่เข้าแข่งขัน ตามระดับชั้นของลีกที่ลงแข่งขันในฤดูกาลนั้น ทั้งนี้สโมสรที่ชนะเลิศ จะได้สิทธิเข้าแข่งขัน รายการ[[เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก]]รอบคัดเลือก รอบสอง
'''ไทยเอฟเอคัพ''' ({{lang-en|Thai FA Cup}}) เป็นการแข่งขัน[[ฟุตบอล]]ถ้วยระดับสูงใน[[ประเทศไทย]] จัดขึ้นโดย[[สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์]] เริ่มแข่งขันเป็นครั้งแรกเมื่อปี [[พ.ศ. 2513]] และพักการแข่งขันไปตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2543]] ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2552]] สมาคมฯ กลับมาจัดแข่งขันอีกครั้ง ปัจจุบัน (ตั้งแต่[[พ.ศ. 2558|ฤดูกาล 2558]]) เปลี่ยนผู้สนับสนุนหลัก จากมูลนิธิไทยคม มาเป็น[[บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน)]] ซึ่งเป็นผู้ผลิต[[เบียร์ช้าง]] จึงมีชื่อเรียกว่า ''ช้าง เอฟเอคัพ'' รูปแบบการแข่งขันเป็นระบบแพ้คัดออก (Knock-out) โดยกำหนดสัดส่วนของสโมสรฟุตบอลที่เข้าแข่งขัน ตามระดับชั้นของลีกที่ลงแข่งขันในฤดูกาลนั้น ทั้งนี้สโมสรที่ชนะเลิศ จะได้สิทธิเข้าแข่งขัน รายการ[[เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก]]รอบแบ่งกลุ่ม


== ทีมที่ชนะเลิศ ==
== ทีมที่ชนะเลิศ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:21, 11 กุมภาพันธ์ 2563

ไทยเอฟเอคัพ
ก่อตั้งพ.ศ. 2513 (ยุคแรก)
พ.ศ. 2552 (ยุคที่สอง)
ยกเลิกพ.ศ. 2543 (ยุคแรก)
ภูมิภาคไทย ไทย
ทีมชนะเลิศล่าสุดการท่าเรือ (3 สมัย)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดราชประชา (5 สมัย)
ผู้แพร่ภาพโทรทัศน์ทรูวิชันส์
ช้าง เอฟเอคัพ 2562

ไทยเอฟเอคัพ (อังกฤษ: Thai FA Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลถ้วยระดับสูงในประเทศไทย จัดขึ้นโดยสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เริ่มแข่งขันเป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2513 และพักการแข่งขันไปตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 ต่อมาในปี พ.ศ. 2552 สมาคมฯ กลับมาจัดแข่งขันอีกครั้ง ปัจจุบัน (ตั้งแต่ฤดูกาล 2558) เปลี่ยนผู้สนับสนุนหลัก จากมูลนิธิไทยคม มาเป็นบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นผู้ผลิตเบียร์ช้าง จึงมีชื่อเรียกว่า ช้าง เอฟเอคัพ รูปแบบการแข่งขันเป็นระบบแพ้คัดออก (Knock-out) โดยกำหนดสัดส่วนของสโมสรฟุตบอลที่เข้าแข่งขัน ตามระดับชั้นของลีกที่ลงแข่งขันในฤดูกาลนั้น ทั้งนี้สโมสรที่ชนะเลิศ จะได้สิทธิเข้าแข่งขัน รายการเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกรอบแบ่งกลุ่ม

ทีมที่ชนะเลิศ

ปี ชนะเลิศ ผลการแข่งขัน รองชนะเลิศ สนามแข่งขัน
2517 สโมสรกีฬาราชวิถี
2518 ราชประชา
2519 ราชประชา
2520–22 ไม่มีการแข่งขัน
2523 ธนาคารกรุงเทพ
2524 ธนาคารกรุงเทพและ ทีมดอนมูล (ครองแชมป์ร่วมกัน)
2525 สโมสรฟุตบอลการท่าเรือ
2526 สโมสรไทยน้ำทิพย์
2527 ลพบุรี 5–1 จันทบุรี
2528 ราชประชา 2–0 ชัยภูมิ
2528–34 ไม่มีการแข่งขัน
2535 ราชประชา
2536 องค์การโทรศัพท์
2537 ราชประชา
2538 ทหารอากาศ
2539 ทหารอากาศ
2540 สินธนา
2541 ธนาคารกรุงเทพ
2542 ธนาคารกสิกรไทย 1–0 ราชประชา
2543 ไม่มีการแข่งขัน
2544 ทหารอากาศ
2545–51 ไม่มีการแข่งขัน
2552 การท่าเรือไทย 1–1 หลังต่อเวลา
(5–4 จุดโทษ)
บีอีซี เทโรศาสน สนามศุภชลาศัย
2553 ชลบุรี 2–1 เมืองทอง ยูไนเต็ด สนามศุภชลาศัย
2554 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 1–0 เมืองทอง ยูไนเต็ด สนามศุภชลาศัย
2555 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 2–1 อาร์มี่ ยูไนเต็ด สนามศุภชลาศัย
2556 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 3–1 บางกอกกล๊าส สนามศุภชลาศัย
2557 บางกอกกล๊าส 1–0 ชลบุรี สนามศุภชลาศัย
2558 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 3–1 เมืองทอง ยูไนเต็ด สนามศุภชลาศัย
2559 ชลบุรี, ชัยนาท ฮอร์นบิล, ราชบุรี มิตรผล และ สุโขทัย (ครองแชมป์ร่วมกัน)
2560 เชียงราย ยูไนเต็ด 4–2 แบงค็อก ยูไนเต็ด สนามศุภชลาศัย
2561 เชียงราย ยูไนเต็ด 3–2 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด สนามศุภชลาศัย
2562 การท่าเรือ 1–0 ราชบุรี มิตรผล ลีโอสเตเดียม

สถิติของการแข่งขัน

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น