ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พาหะของประจุไฟฟ้า"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Peetang618 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Peetang618 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''พาหะของประจุไฟฟ้า''' ({{lang-en|charge carrier}}) ในฟิสิกส์, หมายถึง[[อนุภาค]]เคลื่อนที่อิสระที่ขนส่ง[[ประจุไฟฟ้า]]ในสาร[[ตัวนำไฟฟ้า]] ตัวอย่างเช่น [[อิเล็กตรอน]], [[ไอออน]](อะตอมที่มีประจุบวกหรือลบ), และ[[โฮล]] [[สนามไฟฟ้า]]สามารถออกแรงบังคับอนุภาคอิสระเหล่านี้ให้เคลื่อนที่ไปในตัวนำนั้น เรียกการเคลื่อนที่นี้ว่า [[กระแสไฟฟ้า]] ในตัวนำที่แตกต่างกัน อนุภาคที่ใช้ขนส่งประจุก็แตกต่างกันไป ได้แก่ :
'''พาหะของประจุไฟฟ้า''' ({{lang-en|charge carrier}}) ในฟิสิกส์, หมายถึง[[อนุภาค]]เคลื่อนที่อิสระที่ขนส่ง[[ประจุไฟฟ้า]]ในสาร[[ตัวนำไฟฟ้า]] ตัวอย่างเช่น [[อิเล็กตรอน]], [[ไอออน]](อะตอมที่มีประจุบวกหรือลบ), และ[[โฮล]] [[สนามไฟฟ้า]]สามารถออกแรงบังคับอนุภาคอิสระเหล่านี้ให้เคลื่อนที่ไปในตัวนำนั้น เรียกการเคลื่อนที่นี้ว่า [[กระแสไฟฟ้า]] ในตัวนำที่แตกต่างกัน อนุภาคที่ใช้ขนส่งประจุก็แตกต่างกันไป ได้แก่ :
*ในโลหะ พาหะของประจุไฟฟ้าคือ อิเล็กตรอน หนึ่งหรือสองตัวของอิเล็กตรอนรอบนอกสุดของอะตอมแต่ละตัวสามารถที่จะเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระภายในโครงสร้างผลึกของโลหะ อิเล็กตรอนอิสระจะถูกเรียกว่า อิเล็กตรอนนำกระแส และกลุ่มอิเล็กตรอนอิสระเรียกว่า Fermi
*ในโลหะ พาหะของประจุไฟฟ้าคือ อิเล็กตรอนหนึ่งหรือสองตัวของอิเล็กตรอนรอบนอกสุดของอะตอมแต่ละตัว สามารถที่จะเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระภายในโครงสร้างผลึกของโลหะ อิเล็กตรอนอิสระจะถูกเรียกว่า อิเล็กตรอนนำกระแส และกลุ่มอิเล็กตรอนอิสระเรียกว่า Fermi
*ในสารละลาย[[อิเล็กโทรไลต์|อิเล็กโทรไลท์]] (สารละลายหรือของเหลวที่แตกตัวเป็นไอออนได้บางส่วน หรือทั้งหมด และยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]) เช่น น้ำเกลือ พาหะของประจุไฟฟ้าได้แก่ไอออน ซึ่งเป็นอะตอมหรือโมเลกุลที่ได้รับหรือสูญเสียอิเล็กตรอน ทำให้ตัวเองถูกประจุด้วยไฟฟ้า อะตอมที่ได้รับอิเล็กตรอนจะถูกประจุด้วยไฟฟ้าลบหรือมีประจุลบจะเรียกว่า แอนไอออน อะตอมที่สูญเสียอิเล็กตรอนจะถูกประจุด้วยไฟฟ้าบวกหรือมีประจุบวก จะเรียกว่า แคทไอออน แคทไอออนและแอนไอออนของของเหลวที่ถูกแยกตัวยังทำหน้าที่เป็นพาหะของประจุไฟฟ้าในของแข็งไอออนที่หลอมละลาย (ดูกระบวนการ [[ฮอลล์|ฮอลล์-Héroult]] สำหรับตัวอย่างของขบวนการ[[อิเล็กโทรไลซิส|อิเล็กโทรไลซิสท์]]ของของแข็งไอออนที่หลอมละลาย) ตัวนำ[[โปรตอน]]เป็นตัวนำแบบอิเล็กโทรไลติกที่ใช้ไอออนของ[[ไฮโดรเจน]]ที่เป็นบวกเป็นตัวขนส่งประจุ
*ในสารละลาย[[อิเล็กโทรไลต์|อิเล็กโทรไลท์]] (สารละลายหรือของเหลวที่แตกตัวเป็นไอออนได้บางส่วน หรือทั้งหมด และยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]) เช่น น้ำเกลือ พาหะของประจุไฟฟ้าได้แก่ไอออน ซึ่งเป็นอะตอมหรือโมเลกุลที่ได้รับหรือสูญเสียอิเล็กตรอน ทำให้ตัวเองถูกประจุด้วยไฟฟ้า อะตอมที่ได้รับอิเล็กตรอนจะถูกประจุด้วยไฟฟ้าลบหรือมีประจุลบจะเรียกว่า แอนไอออน อะตอมที่สูญเสียอิเล็กตรอนจะถูกประจุด้วยไฟฟ้าบวกหรือมีประจุบวก จะเรียกว่า แคทไอออน แคทไอออนและแอนไอออนของของเหลวที่ถูกแยกตัวยังทำหน้าที่เป็นพาหะของประจุไฟฟ้าในของแข็งไอออนที่หลอมละลาย (ดูกระบวนการ [[ฮอลล์|ฮอลล์-Héroult]] สำหรับตัวอย่างของขบวนการ[[อิเล็กโทรไลซิส|อิเล็กโทรไลซิสท์]]ของของแข็งไอออนที่หลอมละลาย) ตัวนำ[[โปรตอน]]เป็นตัวนำแบบอิเล็กโทรไลติกที่ใช้ไอออนของ[[ไฮโดรเจน]]ที่เป็นบวกเป็นตัวขนส่งประจุ
*ใน[[พลาสมา|พลาสม่า]], พาหะของประจุไฟฟ้าได้แก่ ก๊าซที่มีประจุไฟฟ้าที่ได้จากการเชื่อมไฟฟ้าผ่านอากาศ, แสงนีออน, แสงดวงอาทิตย์และแสงดาว, อิเล็กตรอนและแคทไอออนของก๊าซที่แตกตัวเป็นไอออน
*ใน[[พลาสมา|พลาสม่า]], พาหะของประจุไฟฟ้าได้แก่ ก๊าซที่มีประจุไฟฟ้าที่ได้จากการเชื่อมไฟฟ้าผ่านอากาศ, แสงนีออน, แสงดวงอาทิตย์และแสงดาว, อิเล็กตรอนและแคทไอออนของก๊าซที่แตกตัวเป็นไอออน

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 16:49, 24 มกราคม 2563

พาหะของประจุไฟฟ้า (อังกฤษ: charge carrier) ในฟิสิกส์, หมายถึงอนุภาคเคลื่อนที่อิสระที่ขนส่งประจุไฟฟ้าในสารตัวนำไฟฟ้า ตัวอย่างเช่น อิเล็กตรอน, ไอออน(อะตอมที่มีประจุบวกหรือลบ), และโฮล สนามไฟฟ้าสามารถออกแรงบังคับอนุภาคอิสระเหล่านี้ให้เคลื่อนที่ไปในตัวนำนั้น เรียกการเคลื่อนที่นี้ว่า กระแสไฟฟ้า ในตัวนำที่แตกต่างกัน อนุภาคที่ใช้ขนส่งประจุก็แตกต่างกันไป ได้แก่ :

  • ในโลหะ พาหะของประจุไฟฟ้าคือ อิเล็กตรอนหนึ่งหรือสองตัวของอิเล็กตรอนรอบนอกสุดของอะตอมแต่ละตัว สามารถที่จะเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระภายในโครงสร้างผลึกของโลหะ อิเล็กตรอนอิสระจะถูกเรียกว่า อิเล็กตรอนนำกระแส และกลุ่มอิเล็กตรอนอิสระเรียกว่า Fermi
  • ในสารละลายอิเล็กโทรไลท์ (สารละลายหรือของเหลวที่แตกตัวเป็นไอออนได้บางส่วน หรือทั้งหมด และยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]) เช่น น้ำเกลือ พาหะของประจุไฟฟ้าได้แก่ไอออน ซึ่งเป็นอะตอมหรือโมเลกุลที่ได้รับหรือสูญเสียอิเล็กตรอน ทำให้ตัวเองถูกประจุด้วยไฟฟ้า อะตอมที่ได้รับอิเล็กตรอนจะถูกประจุด้วยไฟฟ้าลบหรือมีประจุลบจะเรียกว่า แอนไอออน อะตอมที่สูญเสียอิเล็กตรอนจะถูกประจุด้วยไฟฟ้าบวกหรือมีประจุบวก จะเรียกว่า แคทไอออน แคทไอออนและแอนไอออนของของเหลวที่ถูกแยกตัวยังทำหน้าที่เป็นพาหะของประจุไฟฟ้าในของแข็งไอออนที่หลอมละลาย (ดูกระบวนการ ฮอลล์-Héroult สำหรับตัวอย่างของขบวนการอิเล็กโทรไลซิสท์ของของแข็งไอออนที่หลอมละลาย) ตัวนำโปรตอนเป็นตัวนำแบบอิเล็กโทรไลติกที่ใช้ไอออนของไฮโดรเจนที่เป็นบวกเป็นตัวขนส่งประจุ
  • ในพลาสม่า, พาหะของประจุไฟฟ้าได้แก่ ก๊าซที่มีประจุไฟฟ้าที่ได้จากการเชื่อมไฟฟ้าผ่านอากาศ, แสงนีออน, แสงดวงอาทิตย์และแสงดาว, อิเล็กตรอนและแคทไอออนของก๊าซที่แตกตัวเป็นไอออน
  • ในสุญญากาศ อิเล็กตรอนอิสระสามารถทำหน้าที่เป็นพาหะของประจุไฟฟ้าได้ บางครั้งเรียกว่า cathode ray. ในหลอดสูญญากาศ กลุ่มของอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ถูกสร้างขึ้นโดยแคโทดโลหะร้อน โดยกระบวนการที่เรียกว่า thermionic emission
  • ในสารกึ่งตัวนำ (วัสดุที่ใช้ทำชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ทรานซิสเตอร์และแผงวงจรไฟฟ้า) นอกเหนือไปจากอิเล็กตรอน ที่ว่างในวงนอกสุดของอะตอมอันเนื่องจากการสูญเสียอิเล็กตรอน (เรียกว่า "โฮล") ทำตัวเป็นประจุบวกเคลื่อนที่ และถือว่าเป็นพาหะของประจุไฟฟ้าแบบหนึ่ง อิเล็กตรอนและโฮลเป็นพาหะของประจุไฟฟ้าในสารกึ่งตัวนำ

จะเห็นได้ว่าในตัวนำบางอย่าง เช่น ในสารละลายอิออนและในพลาสม่าจะมีพาหะของประจุไฟฟ้าทั้งบวกและลบ ดังนั้นกระแสไฟฟ้าที่ไหลในตัวนำดังกล่าว จะเกิดจากสองขั้วของพาหะที่ไหลในทิศทางตรงข้ามกัน ในตัวนำไฟฟ้าอื่น ๆ เช่น โลหะ มีพาหะเพียงขั้วไฟฟ้าเดียวเท่านั้น ไม่บวกก็ลบ ดังนั้นกระแสไฟฟ้าที่ไหลจึงเกิดในทิศทางเดียว