ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐ พ.ศ. 2563"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tony Patt (คุย | ส่วนร่วม)
Tony Patt (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 139: บรรทัด 139:
ไฟล์:Deval Patrick 2016.jpg|{{center|อดีต[[ผู้ว่าการรัฐแมสซาชูเซตส์|ผู้ว่าการรัฐ]]<br/><big>'''เดวาล แพทริค'''</big><br/><small>จาก[[รัฐแมสซาชูเซตส์]]<br/>(พ.ศ. 2550–2558)</small>}}
ไฟล์:Deval Patrick 2016.jpg|{{center|อดีต[[ผู้ว่าการรัฐแมสซาชูเซตส์|ผู้ว่าการรัฐ]]<br/><big>'''เดวาล แพทริค'''</big><br/><small>จาก[[รัฐแมสซาชูเซตส์]]<br/>(พ.ศ. 2550–2558)</small>}}
ไฟล์:Bernie Sanders July 2019 (cropped).jpg|{{center|สมาชิกวุฒิสภา<br/><big>'''[[เบอร์นี แซนเดอร์ส]]'''</big><br/><small>จาก[[รัฐเวอร์มอนต์]]<br/>(พ.ศ. 2550–ปัจจุบัน)</small>}}
ไฟล์:Bernie Sanders July 2019 (cropped).jpg|{{center|สมาชิกวุฒิสภา<br/><big>'''[[เบอร์นี แซนเดอร์ส]]'''</big><br/><small>จาก[[รัฐเวอร์มอนต์]]<br/>(พ.ศ. 2550–ปัจจุบัน)</small>}}
ไฟล์:Tom Steyer by Gage Skidmore.jpg|{{center|<big>'''ทอม สไตยร์'''</big><br/>ผู้จัดการกองทุนบริหารความเสี่ยง<br/><small>จากรัฐแคลิฟอร์เนีย</small>}}
ไฟล์:Tom Steyer by Gage Skidmore.jpg|{{center|<big>'''ทอม สไตเยอร์'''</big><br/>ผู้จัดการกองทุนบริหารความเสี่ยง<br/><small>จากรัฐแคลิฟอร์เนีย</small>}}
ไฟล์:Elizabeth Warren by Gage Skidmore.jpg|{{center|สมาชิกวุฒิสภา<br/><big>'''[[เอลิซาเบธ วอร์เรน]]'''</big><br/><small>จาก[[รัฐแมสซาชูเซตส์]]<br/>(พ.ศ. 2556–ปัจจุบัน)</small>}}
ไฟล์:Elizabeth Warren by Gage Skidmore.jpg|{{center|สมาชิกวุฒิสภา<br/><big>'''[[เอลิซาเบธ วอร์เรน]]'''</big><br/><small>จาก[[รัฐแมสซาชูเซตส์]]<br/>(พ.ศ. 2556–ปัจจุบัน)</small>}}
ไฟล์:Andrew Yang by Gage Skidmore.jpg|{{center|<big>'''แอนดรูว์ หยาง'''</big><br/>ผู้ประกอบการ<br/><small>จากรัฐนิวยอร์ก</small>}}
ไฟล์:Andrew Yang by Gage Skidmore.jpg|{{center|<big>'''แอนดรูว์ หยาง'''</big><br/>ผู้ประกอบการ<br/><small>จากรัฐนิวยอร์ก</small>}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:17, 16 มกราคม 2563

การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐ พ.ศ. 2563

← 2559 3 พฤศจิกายน 2563 2567 →

สมาชิกคณะผู้เลือกตั้ง 538 คน
ต้องการ คะแนนเสียงของผู้เลือกตั้ง 270 เสียงจึงชนะ

การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐแคลิฟอร์เนีย พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐออริกอน พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐวอชิงตัน พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐไอดาโฮ พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐเนวาดา พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐยูทาห์ พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐแอริโซนา พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐมอนแทนา พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐไวโอมิง พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐโคโลราโด พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐนิวเม็กซิโก พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐนอร์ทดาโคตา พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐเซาท์ดาโคตา พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐเนแบรสกา พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐแคนซัส พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐโอคลาโฮมา พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐเท็กซัส พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐมินนิโซตา พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐไอโอวา พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐมิสซูรี พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐอาร์คันซอ พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐลุยเซียนา พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐวิสคอนซิน พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐอิลลินอยส์ พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐมิชิแกน พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐอินดีแอนา พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐโอไฮโอ พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐเคนทักกี พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐเทนเนสซี พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐมิสซิสซิปปี พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐแอละแบมา พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐจอร์เจีย พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐฟลอริดา พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐเซาท์แคโรไลนา พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐนอร์ทแคโรไลนา พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐเวอร์จิเนีย พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐเวสต์เวอร์จิเนีย พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในเขตโคลัมเบีย พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐแมริแลนด์ พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐเดลาแวร์ พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐเพนซิลเวเนีย พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐนิวเจอร์ซีย์ พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐนิวยอร์ก พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐคอนเนตทิคัต พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐโรดไอแลนด์ พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐเวอร์มอนต์ พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐนิวแฮมป์เชียร์ พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐเมน พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐแมสซาชูเซตส์ พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐฮาวาย พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐอะแลสกา พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในเขตโคลัมเบีย พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐแมริแลนด์ พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐเดลาแวร์ พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐนิวเจอร์ซีย์ พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐคอนเนตทิคัต พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐโรดไอแลนด์ พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐแมสซาชูเซตส์ พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐเวอร์มอนต์ พ.ศ. 2563การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐในรัฐนิวแฮมป์เชียร์ พ.ศ. 2563
แผนที่เลือกตั้งของการเลือกตั้งปี 2563 โดยยึดประชากรจากสำมะโนปี 2553

หน้าที่ ประธานาธิบดีคนปัจจุบัน

ดอนัลด์ ทรัมป์
พรรคริพับลิกัน



การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐ พ.ศ. 2563 ซึ่งกำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 3 พฤศจิกายน 2563 จะเป็นการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐครั้งที่ 59 ซึ่งจัดทุกสี่ปี ผู้ออกเสียงเลือกตั้งจะเลือกผู้เลือกตั้งประธานาธิบดีซึ่งจะเลือกตั้งประธานาธิบดีในวันที่ 14 ธันวาคม 2563[1] หากไม่มีผู้สมัครรับเลือกตั้งใดได้รับเสียงของคณะผู้เลือกตั้งขั้นต่ำ 270 เสียงในการชนะการเลือกตั้ง สภาผู้แทนราษฎรสหรัฐจะเลือกประธานาธิบดีจากผู้สมัครสามคนที่ได้รับเสียงของผู้เลือกตั้งมากที่สุด และวุฒิสภาสหรัฐจะเลือกรองประธานาธิบดีที่ได้รับคะแนนรวมสูงสุดสองอันดับ คาดว่าจะมีการเลือกตั้งขั้นต้นและการประชุมลับในช่วงหกเดือนแรกของปี 2563 กระบวนการเสนอชื่อยังเป็นการเลือกตั้งโดยอ้อมด้วย โดยผู้ออกเสียงเลือกรายชื่อผู้แทนที่จะส่งสมัครรับเลือกตั้งในการประชุมเสนอชื่อของพรรคการเมือง ซึ่งจะเลือกผู้สมัครประธานาธิบดีพรรคของตนและรองประธานาธิบดีที่ร่วมลงสมัครในลำดับถัดไป

ดอนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีสหรัฐคนที่ 45 และคนปัจจุบัน เริ่มการรณรงค์รับเลือกตั้งใหม่สำหรับการเลือกตั้งขั้นต้นพรรครีพับลิกัน องค์การพรรครีพับลิกันระดับรัฐหลายองค์การยกเลิกการเลือกตั้งขั้นต้นเพื่อแสดงการสนับสนุนการลงสมัครรับเลือกตั้งของเขา ผู้สมัครหลัก 27 คนเริ่มการรณรงค์เพื่อรับการเสนอชื่อของพรรคเดโมแครต ซึ่งเป็นจำนวนผู้สมัครมากที่สุดสำหรับพรรคการเมืองในการเมืองอเมริกันหลังยุคปฏิรูป ผู้ชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีปี 2563 มีกำหนดเข้ารับตำแหน่งในวันที่ 20 มกราคม 2564

เบื้องหลัง

วิธีดำเนินการ

รัฐธรรมนูญสหรัฐ มาตรา 2 ระบุว่า บุคคลที่จะเป็นประธานาธิบดีสหรัฐต้องเป็นพลเมืองสหรัฐโดยกำเนิด มีอายุ 35 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป และเป็นผู้พำนักในสหรัฐอย่างน้อย 14 ปี ผู้สมัครรับเลือกตั้งประธานาธิบดีตรงแบบมองหาการเสนอชื่อของพรรคการเมืองต่าง ๆ ของสหรัฐ โดยแต่ละพรรคมีวิธีการของตน (เช่น การเลือกตั้งขั้นต้น) เพื่อเลือกผู้สมัครที่พรรคเห็นว่าเหมาะสมลงรับสมัครเลือกตั้ง การเลือกตั้งขั้นต้นปกติเป็นการเลือกตั้งโดยอ้อมโดยผู้ออกเสียงเลือกตั้งของแต่ละพรรคลงคะแนนเลือกรายชื่อผู้แทนที่จะส่งสมัครรับเลือกตั้งที่จะเลือกผู้สมัครคนหนึ่ง ๆ จากนั้นผู้แทนของพรรคจะเสนอชื่อผู้สมัครให้ลงรับเลือกตั้งในนามของพรรคอย่างเป็นทางการ ผู้เสนอชื่อประธานาธิบดีตรงแบบเลือกผู้ร่วมสมัครรับเลือกตั้งเป็นรองประธานาธิบดี ซึ่งผู้แทนพรรคจะให้สัตยาบัน การเลือกตั้งทั่วไปในเดือนพฤศจิกายนก็เป็นการเลือกตั้งโดยอ้อมเช่นกัน ซึ่งผู้ออกเสียงเลือกตั้งลงคะแนนให้สมาชิกคณะผู้เลือกตั้ง แล้วผู้เลือกตั้งเหล่านี้จะเลือกประธานาธิบดีและรองประธานาธิบดีโดยตรง[2]

ในเดือนพฤศจิกายน 2561 คณะกรรมการแห่งชาติของพรรคเดโมแครตออกเสียงไม่อนุญาตให้ซูเปอร์เดลีเกตออกเสียงเป็นลำดับแรกในกระบวนการเสนอชื่อ เริ่มตั้งแต่การเลือกตั้งปี 2563 ทำให้ผู้สมัครต้องชนะผู้แทนที่ให้สัญญาฝ่ายข้างมากจากการเลือกตั้งขั้นต้นเพื่อให้พรรคเสนอชื่อ[3]

คณะกรรมการระดับรัฐของพรรครีพับลิกันหลายคณะมีรายงานว่าพิจารณายกเลิกการเลือกตั้งขั้นต้นและการประชุมลับปี 2563 ส่วนอีกหลายคณะดำเนินการไปแล้ว[4] โดยอ้างข้อเท็จจริงว่ารีพับลิกันเคยยกเลิกการเลือกตั้งขั้นต้นหลายรัฐเมื่อจอร์จ เอช. ดับเบิลยู. บุช และจอร์จ ดับเบิลยู. บุชลงสมัครสมัยที่สองในปี 2535 และ 2547 ตามลำดับ ส่วนเดโมแครตเคยยกเลิกการเลือกตั้งขั้นต้นเมื่อบิล คลินตันและบารัค โอบามากำลังรับเลือกตั้งสมัยที่สองในปี 2539 และ 2555 ตามลำดับ[5][6]

วันที่ 26 สิงหาคม 2562 สภานิติบัญญัติรัฐเมนผ่านร่างกฎหมายใช้การออกเสียงลงคะแนนแบบตัวเลือกจัดอันดับ (ranked-choice voting) สำหรับทั้งการเลือกตั้งประธานาธิบดีขั้นต้นและการเลือกตั้งทั่วไป[7][8] วันที่ 6 กันยายน 2562 ผู้ว่าการรัฐเมน เจเน็ต มิลส์ อนุญาตให้ผ่านร่างกฎหมายดังกล่าวโดยไม่ลงนาม ซึ่งทำให้ชะลอเวลามีผลจนกระทั่งหลังเลือกตั้งขั้นต้นพรรคเดโมแครตปี 2563 ในเดือนมีนาคม ทำให้รัฐเมนจะเป็นรัฐแรกที่ใช้การออกเสียงลงคะแนนแบบตัวเลือกจัดอันดับสำหรับการเลือกตั้งทั่วไปประธานาธิบดี[9] กฎหมายยังคงใช้วิธีการเขตเลือกตั้งรัฐสภาสำหรับการจัดสรรผู้เลือกตั้ง โดยรัฐเมนและรัฐเนแบรสกาใช้ในการเลือกตั้งล่าสุด การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวอาจชะลอการทำนายผู้ชนะเสียงผู้เลือกั้งขอรัฐเมนเป็นเวลาหนึ่งสัปดาห์หลังวันเลือกตั้ง และยังจะทำให้การตีความคะแนนของประชาชนทั่วประเทศยุ่งยากขึ้นด้วย

การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญสหรัฐครั้งที่ 22 ระบุว่าบุคคลไม่สามารถได้ร้ับเลือกตั้งให้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีเกินสองครั้ง ทำให้อดีตประธานาธิบดีบิล คลินตัน, จอร์จ ดับเบิลยู. บุช และบารัค โอบามาไม่มีสิทธิ์รับเลือกตั้งอีกสมัย

แนวโน้มประชากรศาสตร์

กลุ่มอายุที่จะมีอายุอยู่ในช่วง 18 ถึง 45 ปีคาดว่าจะคิดเป็นผู้มีสิทธิ์ออกเสียงเลือกตั้งของสหรัฐน้อยกว่าร้อยละ 40 เล็กน้อยในปี 2563 คาดหมายว่าผู้มีสิทธิ์ออกเสียงเลือกตั้งสหรัฐกว่าร้อยละ 30 ไม่ใช่ผิวขาว[10]

รายงานสองพรรคระบุว่าประชากรศาสตร์ผู้ออกเสียงเลือกตั้งที่เปลี่ยนไปนับแต่การเลือกตั้งปี 2559 อาจมีผลต่อการเลือกตั้งปี 2563 แอฟริกันอเมริกัน ฮิสแปนิก เอเชียและชนกลุ่มน้อยอื่น ตลอดจน "ผิวขาวที่มีปริญญาวิทยาลัย" ล้วนคาดว่าจะมีสัดส่วนผู้มีสิทธิ์ออกเสียงเลือกต้ังเพิ่มขึ้นทั่วประเทศภายในปี 2563 ส่วน "ผิขาวที่ไม่มีปริญญาวิทยาลัย" จะลดลง การเปลี่ยนแปลงนี้อาจทำให้ผู้สมัครพรรคเดโมแครตได้เปรียบ แต่เนื่องจากความแตกต่างทางภูมิศาสตร์ อาจทำให้ผู้สมัครพรรครีพับลิกันชนะคณะผู้เลือกตั้งได้แม้จะแพ้คะแนนเสียงของประชาชน โดยอาจทิ้งห่างมากยิ่งกว่าปี 2559[11]

การเลือกตั้งในปีเดียวกัน

การเลือกตั้งประธานาธิบดีจะเกิดขึ้นพร้อมกับการเลือกตั้งวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร หลายรัฐจัดการเลือกตั้งผู้ว่าการรัฐและสภานิติบัญญัติของรัฐด้วย หลังการเลือกตั้ง สภาผู้แทนราษฎรจะมีการจัดสรรที่นั่งใหม่ให้กับ 50 รัฐตามผลของสำมะโนสหรัฐปี 2563 และรัฐจะจัดเขตเลือกตั้งรัฐสภาและสภานิติบัญญัติของรัฐใหม่ ในหลายรัฐ ผู้ว่าการและสภานิติบัญญัติของรัฐจะจัดเขตเลือกตั้งใหม่ และบ่อยครั้งที่พรรคที่ชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีจะมีผลอาศัยบารมีช่วยทำให้ผู้สมัครอื่นจากพรรคเดียวกันชนะการเลือกตั้งตามไปด้วย[12] ฉะนั้น พรรคที่ชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีปี 2563 อาจมีข้อได้เปรียบสำคัญในการร่างเขตรัฐสภาและสภานิติบัญญัติของรัฐใหม่ซึ่งจะมีผลจนถึงการเลือกตั้งปี 2575[13]

การสรรหาตัวแทนพรรครีพับลิกัน

ผู้สมัครตัวแทนพรรค

ชื่อ เกิด / รัฐเหย้า ประสบการณ์ การรณรงค์หาเสียง
วันประกาศ
จำนวนผู้แทนพรรค[14] คะแนนเสียง[14] รัฐที่ชนะ[a]

ดอนัลด์ ทรัมป์
14 มิถุนายน พ.ศ. 2489
(77 ปี)
ควีนส์ รัฐนิวยอร์ก
ประธานาธิบดีสหรัฐ (พ.ศ. 2560–ปัจจุบัน)
นักธุรกิจ บุคคลในวงการโทรทัศน์ และนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์

การรณรงค์หาเสียง
การรณรงค์หาเสียง
(อย่างไม่เป็นทางการ):
17 กุมภาพันธ์ 2560
(อย่างเป็นทางการ): 18 มิถุนายน 2562

คำแถลงการณ์ FEC[16]
19
(0.78%)
0
(0%)
1
ฮาวาย[17]

ฟลอริดา[18]

โจ วอล์ช
27 ธันวาคม พ.ศ. 2504
(62 ปี)
นอร์ทแบร์ริงตัน รัฐอิลลินอยส์
ส.ส. รัฐอิลลินอยส์ เขต 8 (พ.ศ. 2554–2556)
นักจัดรายการวิทยุอนุรักษ์นิยม

การรณรงค์หาเสียง
การรณรงค์หาเสียง: 25 สิงหาคม 2562
คำแถลงการณ์ FEC[19]
0
(0%)
0
(0%)
0

อิลลินอยส์

บิล เวลด์
31 กรกฎาคม พ.ศ. 2488
(78 ปี)
สมิธทาวน์ รัฐนิวยอร์ก
ผู้ว่าการรัฐแมสซาชูเซตส์ (พ.ศ. 2534–2540)
ตัวแทนพรรคลิเบอร์เทเรียนในการเสนอชื่อ
รองประธานาธิบดีสหรัฐ พ.ศ. 2559
ตัวแทนพรรคในการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาสหรัฐ
จากรัฐแมสซาชูเซตส์ พ.ศ. 2539

การรณรงค์หาเสียง
จัดตั้งคณะกรรมการหยั่งเสียง:
15 กุมภาพันธ์ 2562
การรณรงค์หาเสียง: 15 เมษายน 2562

คำแถลงการณ์ FEC[20]
0
(0%)
0
(0%)
0

แมสซาชูเซตส์

ผู้สมัครที่ถอนตัวก่อนการเลือกตั้ง

ชื่อ เกิด ประสบการณ์ รัฐเหย้า วันประกาศลงสมัคร วันประกาศถอนตัว บทความ อ้างอิง

มาร์ก แซนฟอร์ด
28 พฤษภาคม พ.ศ. 2503
(63 ปี)
ฟอร์ตลอเดอร์เดล รัฐฟลอริดา
ส.ส. รัฐเซาท์แคโรไลนา เขต 1 (พ.ศ. 2538–2544, 2556–2562)
ผู้ว่าการรัฐเซาท์แคโรไลนา (พ.ศ. 2546–2554)

เซาท์แคโรไลนา
8 กันยายน 2562 12 พฤศจิกายน 2562
การรณรงค์หาเสียง
คำแถลงการณ์ FEC[21]
[22][23]

การสรรหาตัวแทนพรรคเดโมแครต

ผู้สมัครตัวแทนพรรค

ผู้สมัครที่ถอนตัวก่อนการเลือกตั้ง

การทำนายผลของรัฐต่าง ๆ

ผู้ทำนายผลการเลือกตั้งส่วนใหญ่ใช้ศัพท์ดังนี้

  • "tossup": ไม่มีข้อได้เปรียบ
  • "tilt" (ใช้น้อย): ได้เปรียบโดยไม่มากเท่ากับ "lean"
  • "lean": ได้เปรียบเล็กน้อย
  • "likely" หรือ "favored": ได้เปรียบมาก แต่ยังเอาชนะได้
  • "safe" or "solid": โอกาสชนะเกือบแน่นอน
รัฐ ดัชนี
PVI
[24]
ผลครั้งก่อน คุก
29 ต.ค. 2019[25]
IE
19 ธ.ค. 2019[26]
สะบาโต
7 พ.ย. 2019[27]
โพลิติโก
19 พ.ย. 2019[28]
แอละแบมา R+14 62.1% R Safe R Safe R Safe R Safe R
อะแลสกา R+9 51.3% R Safe R Safe R Safe R Safe R
แอริโซนา R+5 48.9% R Tossup Tilt R Tossup Tossup
อาร์คันซอ R+15 60.6% R Safe R Safe R Safe R Safe R
แคลิฟอร์เนีย D+12 61.7% D Safe D Safe D Safe D Safe D
โคโลราโด D+1 48.2% D Likely D Safe D Lean D Lean D
คอนเนตทิคัต D+6 54.6% D Safe D Safe D Safe D Safe D
เดลาแวร์ D+6 53.1% D Safe D Safe D Safe D Safe D
เขตโคลัมเบีย D+41 90.9% D Safe D Safe D Safe D Safe D
ฟลอริดา R+2 49.0% R Tossup Tossup Lean R Tossup
จอร์เจีย R+5 50.8% R Lean R Likely R Lean R Lean R
ฮาวาย D+18 62.2% D Safe D Safe D Safe D Safe D
ไอดาโฮ R+19 59.3% R Safe R Safe R Safe R Safe R
อิลลินอยส์ D+7 55.8% D Safe D Safe D Safe D Safe D
อินดีแอนา R+9 56.8% R Safe R Safe R Safe R Safe R
ไอโอวา R+3 51.2% R Lean R Lean R Lean R Lean R
แคนซัส R+13 56.7% R Safe R Safe R Safe R Safe R
เคนทักกี R+15 62.5% R Safe R Safe R Safe R Safe R
ลุยเซียนา R+11 58.1% R Safe R Safe R Safe R Safe R
เมน D+3 47.8% D Lean D Lean D
(ประเมิน
เฉพาะทั้งรัฐ)
Lean D Lean D
เมน เขต 1 D+8 54.0% D Safe D Safe D Safe D
เมน เขต 2 R+2 51.3% R Lean R Lean R Lean R
แมริแลนด์ D+12 60.3% D Safe D Safe D Safe D Safe D
แมสซาชูเซตส์ D+12 60.1% D Safe D Safe D Safe D Safe D
มิชิแกน D+1 47.5% R Lean D (พลิกชนะ) Tilt D (พลิกชนะ) Lean D (พลิกชนะ) Tossup
มินนิโซตา D+1 46.4% D Lean D Likely D Lean D Lean D
มิสซิสซิปปี R+9 57.9% R Safe R Safe R Safe R Safe R
มิสซูรี R+9 56.8% R Safe R Safe R Safe R Safe R
มอนแทนา R+11 56.2% R Safe R Safe R Safe R Safe R
เนแบรสกา R+14 58.8% R Safe R Safe R
(ประเมิน
เฉพาะทั้งรัฐ)
Safe R Safe R
เนแบรสกา เขต 1 R+11 56.2% R Safe R Safe R Safe R
เนแบรสกา เขต 2 R+4 47.2% R Lean R Tossup Tossup
เนแบรสกา เขต 3 R+27 73.9% R Safe R Safe R Safe R
เนวาดา D+1 47.9% D Likely D Lean D Lean D Tossup
นิวแฮมป์เชียร์ EVEN 47.0% D Lean D Lean D Lean D Tossup
นิวเจอร์ซีย์ D+7 55.0% D Safe D Safe D Safe D Safe D
นิวเม็กซิโก D+3 48.4% D Safe D Safe D Likely D Likely D
นิวยอร์ก D+11 59.0% D Safe D Safe D Safe D Safe D
นอร์ทแคโรไลนา R+3 49.8% R Tossup Tossup Lean R Tossup
นอร์ทดาโคตา R+16 63.0% R Safe R Safe R Safe R Safe R
โอไฮโอ R+3 51.7% R Lean R Likely R Lean R Lean R
โอคลาโฮมา R+20 65.3% R Safe R Safe R Safe R Safe R
ออริกอน D+5 50.1% D Safe D Safe D Safe D Safe D
เพนซิลเวเนีย EVEN 48.2% R Tossup Tilt D (พลิกชนะ) Tossup Tossup
โรดไอแลนด์ D+10 54.4% D Safe D Safe D Safe D Safe D
เซาท์แคโรไลนา R+8 54.9% R Safe R Safe R Safe R Safe R
เซาท์ดาโคตา R+14 61.5% R Safe R Safe R Safe R Safe R
เทนเนสซี R+14 60.7% R Safe R Safe R Safe R Safe R
เท็กซัส R+8 52.2% R Likely R Safe R Lean R Lean R
ยูทาห์ R+20 45.5% R Safe R Safe R Safe R Likely R
เวอร์มอนต์ D+15 56.7% D Safe D Safe D Safe D Safe D
เวอร์จิเนีย D+1 49.7% D Likely D Safe D Likely D Lean D
วอชิงตัน D+7 52.5% D Safe D Safe D Safe D Safe D
เวสต์เวอร์จิเนีย R+19 68.5% R Safe R Safe R Safe R Safe R
วิสคอนซิน EVEN 47.2% R Tossup Tossup Tossup Tossup
ไวโอมิง R+25 67.4% R Safe R Safe R Safe R Safe R

อ้างอิง

  1. "3 U.S.C. § 7 - U.S. Code - Unannotated Title 3. The President § 7. Meeting and vote of electors", FindLaw.com.
  2. "US Election guide: how does the election work?". เดอะเดลีเทลิกราฟ. 6 พฤศจิกายน 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 พฤศจิกายน 2015. สืบค้นเมื่อ 29 ตุลาคม 2015.
  3. Levy, Adam (25 สิงหาคม 2018). "DNC changes superdelegate rules in presidential nomination process". ซีเอ็นเอ็น. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 สิงหาคม 2018. สืบค้นเมื่อ 27 สิงหาคม 2018.
  4. Isenstadt, Alex (6 กันยายน 2019). "Republicans to scrap primaries and caucuses as Trump challengers cry foul". โพลิติโก. สืบค้นเมื่อ 6 กันยายน 2019.
  5. Karni, Annie (6 กันยายน 2019). "GOP plans to drop presidential primaries in 4 states to impede Trump challengers". เดอะบอสตันโกลบ. เอ็มเอสเอ็น. สืบค้นเมื่อ 7 กันยายน 2019.
  6. Steakin, Will; Karson, Kendall (6 กันยายน 2019). "GOP considers canceling at least 3 GOP primaries and caucuses, Trump challengers outraged". เอบีซีนิวส์. สืบค้นเมื่อ 7 กันยายน 2019.
  7. Miller, Kevin (26 สิงหาคม 2019). "Maine Senate passes ranked-choice voting for March presidential primaries". Portland Press Herald. สืบค้นเมื่อ 28 สิงหาคม 2019.
  8. Shepard, Michael (28 สิงหาคม 2019). "Maine might switch to a ranked-choice presidential election. Here's how it would look". ซีบีเอส 13. สืบค้นเมื่อ 28 สิงหาคม 2019.
  9. Sherpard, Michael (6 กันยายน 2019). "Maine will use ranked-choice voting in next year's presidential election — but not the 2020 primaries". Portland Press Herald. สืบค้นเมื่อ 6 กันยายน 2019.
  10. Weeks, Linton (25 มกราคม 2013). "Forget 2016. The Pivotal Year In Politics May Be 2020". เอ็นพีอาร์. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 ตุลาคม 2015. สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2015.
  11. Chinni, Dante (22 เมษายน 2018). "Demographic shifts show 2020 presidential race could be close". เอ็นบีซีนิวส์. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 เมษายน 2018. สืบค้นเมื่อ 23 เมษายน 2018.
  12. Campbell, James E. (มีนาคม 1986). "Presidential Coattails and Midterm Losses in State Legislative Elections". The American Political Science Review. 80 (1): 45–63. doi:10.2307/1957083. JSTOR 1957083.
  13. Sarlin, Benjy (26 สิงหาคม 2014). "Forget 2016: Democrats already have a plan for 2020". เอ็มเอสเอ็นบีซี. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 ตุลาคม 2015.
  14. 14.0 14.1 Berg-Andersson, Richard E. "Republican Convention". The Green Papers. สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2019.
  15. "The rules of the Republican Party" (PDF). Republican National Convention. 8 สิงหาคม 2014. p. 20. สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2016.
  16. "Statement of Candidacy" (PDF). docquery.fec.gov. 2019.
  17. "Hawaii GOP cancels caucus after Trump is only candidate". แอสโซซิเอทเต็ดเพรส. 13 ธันวาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2019.
  18. "Trump, a symbol of New York, is officially a Floridian now". โพลิติโก. 31 ตุลาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 31 ตุลาคม 2019.
  19. "Statement of Candidacy" (PDF). docquery.fec.gov. 2019.
  20. "Statement of Candidacy" (PDF). docquery.fec.gov. 2019.
  21. "Statement of Candidacy" (PDF). docquery.fec.gov. 2019.
  22. "Mark Sanford Will Challenge Trump in Republican Primary". เดอะนิวยอร์กไทมส์. 8 กันยายน 2019.
  23. Byrd, Caitlin (12 พฤศจิกายน 2019). "Former SC Gov. Mark Sanford has dropped out of presidential race". The Post and Courier. สืบค้นเมื่อ 12 พฤศจิกายน 2019.
  24. "2016 State PVI Changes – Decision Desk HQ". decisiondeskhq.com. 15 ธันวาคม 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 มิถุนายน 2018. สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2019.
  25. "2020 Electoral College Ratings" (PDF). Cook Political Report. 29 ตุลาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2019.
  26. "Presidential Ratings". Inside Elections. 19 เมษายน 2019. สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2019.
  27. "2020 President". Sabato's Crystal Ball. 7 พฤศจิกายน 2019. สืบค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2019.
  28. "2020 Election Forecast". โพลิติโก. 19 พฤศจิกายน 2019. สืบค้นเมื่อ 19 พฤศจิกายน 2019.


อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref> สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-alpha"/> ที่สอดคล้องกัน