ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2543"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ellywa (คุย | ส่วนร่วม)
P199 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 470: บรรทัด 470:
|WarningCenter=PAGASA
|WarningCenter=PAGASA
|Image=TD Gloring 07W 13 july 2000 0230Z.jpg
|Image=TD Gloring 07W 13 july 2000 0230Z.jpg
|Track=Tropical Storm Gloring 2000 track.png
|Track=Tropical depression Gloring 2000 track.png
|Formed=11
|Formed=11
|Dissipated=13 กรกฎาคม
|Dissipated=13 กรกฎาคม

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:46, 12 มกราคม 2563

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2543
แผนที่สรุปฤดูกาล
ขอบเขตฤดูกาล
ระบบแรกก่อตัว4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543
ระบบสุดท้ายสลายตัว4 มกราคม พ.ศ. 2544
พายุมีกำลังมากที่สุด
ชื่อบิลิส
 • ลมแรงสูงสุด205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.)
(เฉลี่ย 10 นาที)
 • ความกดอากาศต่ำที่สุด920 hPa (มิลลิบาร์)
สถิติฤดูกาล
พายุดีเปรสชันทั้งหมด51 ลูก
พายุโซนร้อนทั้งหมด23 ลูก
พายุไต้ฝุ่น13 ลูก
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น4 ลูก (ไม่เป็นทางการ)
ผู้เสียชีวิตทั้งหมดทั้งหมด 467 คน
ความเสียหายทั้งหมด> 7.11 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
(ค่าเงิน USD ปี 2000)
ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก
2541, 2542, 2543, 2544, 2545

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2543 เป็นฤดูกาลในอดีตที่เคยมีการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ฤดูกาลดังกล่าวจะลากยาวตลอด พ.ศ. 2543 โดยพายุหมุนส่วนใหญ่จะก่อตัวขึ้นระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนพฤศจิกายน ฤดูกาลนี้เป็นฤดูกาลแรกที่ริเริ่มการกำหนดชื่อให้กับพายุหมุนเขตร้อนโดยใช้ชื่อสากลจากคณะกรรมการไต้ฝุ่น องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก เป็นฤดูกาลที่มีกิจกรรมของพายุหมุนเขตร้อนต่ำกว่าค่าเฉลี่ย โดยมีพายุโซนร้อน 23 ลูก ในจำนวนนั้นพัฒนาเป็นพายุไต้ฝุ่น 13 ลูก และมี 4 ลูกที่พัฒนาต่อจนเป็นพายุไต้ฝุ่นที่มีความรุนแรง พายุหมุนเขตร้อนลูกแรกที่ได้รับการกำหนดชื่อของฤดูกาลชื่อว่า ด็อมเร็ย ก่อตัวขึ้นเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม ส่วนพายุที่ได้รับชื่อเป็นลูกสุดท้ายคือ ซูลิก สลายตัวในวันที่ 4 มกราคมของปีถัดไป

ขอบเขตของบทความนี้จำกัดเฉพาะมหาสมุทรแปซิฟิกที่อยู่เหนือเส้นศูนย์สูตร ระหว่างเมอริเดียนที่ 100 และ 180 ตะวันออก ในบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ มีสองหน่วยงานที่กำหนดชื่อพายุหมุนซึ่งอาจเป็นผลให้พายุลูกหนึ่งมีสองชื่อ กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) จะตั้งชื่อพายุถ้าพายุลูกนั้นมีความเร็วลมที่รอบศูนย์กลางพายุที่สูงสุด 10 นาที อย่างน้อย 65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ไม่ว่าจะเกิดขึ้นที่ใดในแอ่ง ขณะที่สำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) กำหนดชื่อพายุหมุนซึ่งเคลื่อนเข้าสู่หรือก่อตัวขึ้นเป็นดีเปรสชันเขตร้อนในพื้นที่รับผิดชอบของสำนักงานฯ ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างลองติจูด 135 และ 115 องศาตะวันออก และระหว่างละติจูด 5 ถึง 25 องศาเหนือ แม้พายุนั้นจะมีชื่อที่กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่นตั้งแล้วก็ตาม นอกจากนี้พายุดีเปรสชันเขตร้อนซึ่งถูกเฝ้าติดตามโดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม (JTWC) ของสหรัฐยังได้รับการกำหนดหมายเลขและเติมตัวอักษร "W" ต่อท้ายเป็นรหัสเรียกด้วย

ภาพรวมฤดูกาล

มาตราพายุหมุนเขตร้อนในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก (คณะกรรมการไต้ฝุ่น)
  พายุดีเปรสชัน (≤61 กม./ชม.)   พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (118–156 กม./ชม.)
  พายุโซนร้อน (62–88 กม./ชม.)   พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (157–193 กม./ชม.)
  พายุโซนร้อนกำลังแรง (89–117 กม./ชม.)   พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (≥194 กม./ชม.)

พายุ

ข้อมูลของพายุหมุนเขตร้อนต่อไปนี้ มีความแตกต่างกันในเรื่องของเกณฑ์วัดความเร็วลม โดยกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่นใช้ความเร็วลมที่วัดได้ใน 10 นาที ส่วนศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วมของสหรัฐใช้ความเร็วลมที่วัดได้ใน 1 นาที ด้วยเหตุนี้จึงทำให้ความเร็วลมสูงสุดที่วัดได้โดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม จะมีความเร็วมากกว่าที่กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่นวัดได้

พายุไต้ฝุ่นด็อมเร็ย (เอเซียง)

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
ระยะเวลา 4 – 12 พฤษภาคม
ความรุนแรง 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
930 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.46 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนหลงหวาง (บีริง)

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 17 – 20 พฤษภาคม
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นคีโรกี (ดีตัง)

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 2 – 8 กรกฎาคม
ความรุนแรง 155 กม./ชม. (100 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
940 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.76 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นไคตั๊ก (เอเดง)

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 3 – 10 กรกฎาคม
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
960 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.35 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนเท็มบิง

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 17 – 23 กรกฎาคม
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงบอละเวน (ฮัวนิง)

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 24 – 31 กรกฎาคม
ความรุนแรง 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนจันจู

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 27 – 30 กรกฎาคม
ความรุนแรง 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
996 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.41 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเจอลาวัต

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 31 กรกฎาคม – 12 สิงหาคม
ความรุนแรง 155 กม./ชม. (100 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
940 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.76 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นเอวิเนียร์

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 9 – 18 สิงหาคม
ความรุนแรง 120 กม./ชม. (75 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
975 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.79 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นบิลิส (อีซัง)

พายุไต้ฝุ่นรุนแรง (JMA)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
ระยะเวลา 18 – 25 สิงหาคม
ความรุนแรง 205 กม./ชม. (125 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
920 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.17 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนแคมี

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 19 – 23 สิงหาคม
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นพระพิรุณ (ลูซิง)

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 24 สิงหาคม – 1 กันยายน
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
965 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.5 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนมาเรีย

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 27 สิงหาคม – 2 กันยายน
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
985 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.09 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นซาวมาย (โอซัง)

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
ระยะเวลา 31 สิงหาคม – 16 กันยายน
ความรุนแรง 175 กม./ชม. (110 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
925 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.32 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนบบพา (นิงนิง)

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 4 – 11 กันยายน
ความรุนแรง 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
988 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.18 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นอู๋คง (มาริง)

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 4 – 10 กันยายน
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
955 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.2 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงโซนามู

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา 14 – 18 กันยายน
ความรุนแรง 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นชานชาน

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรงอย่างมาก (JMA)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา 17 – 24 กันยายน
ความรุนแรง 175 กม./ชม. (110 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
925 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 27.32 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นยางิ (ปาริง)

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 21 – 28 ตุลาคม
ความรุนแรง 130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
965 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.5 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นซ้างสาน (เรมิง)

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 24 ตุลาคม – 1 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 140 กม./ชม. (85 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
960 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.35 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนกำลังแรงเบบินคา (เซเนียง)

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา 30 ตุลาคม – 7 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
980 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.94 นิ้วปรอท)

พายุโซนร้อนรุมเบีย (โตยัง)

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 23 พฤศจิกายน – 7 ธันวาคม
ความรุนแรง 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
990 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.23 นิ้วปรอท)

พายุไต้ฝุ่นซูลิก (เวลปริง)

พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา 28 ธันวาคม 2543 – 4 มกราคม 2544
ความรุนแรง 150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
955 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.2 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน

รายการพายุหมุนเขตร้อนที่มีความรุนแรงสูงสุดเป็นเพียงพายุดีเปรสชัน โดยอาจเป็นพายุที่มีรหัสเรียกตามหลังด้วยตัวอักษร W โดยศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม หรืออาจได้รับชื่อท้องถิ่นจากสำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) แต่ไม่ถูกตั้งชื่อตามเกณฑ์ของกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) ซึ่งหน่วยงานดังกล่าวระบุเพียงแต่คำว่า TD (Tropical Depression) หรือพายุดีเปรสชันเท่านั้น

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 03W (โกนซิง)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 21 – 22 พฤษภาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1002 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.59 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 04W

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 30 พฤษภาคม – 1 มิถุนายน
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1001 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.56 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนขนาดเล็กไม่มีชื่อ

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
ระยะเวลา 18 มิถุนายน
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1002 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.59 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 07W (โกลริง)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 11 – 13 กรกฎาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
999 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.5 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 08W

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (HKO)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 14 – 17 กรกฎาคม
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
995 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.38 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 10W

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 20 – 22 กรกฎาคม
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 14W

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 8 – 10 สิงหาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
1000 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.53 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 16W (เวเน)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 15 – 15 สิงหาคม
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
ไม่ทราบความกดอากาศ

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 17W

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 17 – 19 สิงหาคม
ความรุนแรง 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
1002 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.59 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 27W

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 27 กันยายน – 2 ตุลาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1008 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.77 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 28W

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 6 – 13 ตุลาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
997 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.44 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 32W

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา 8 – 10 พฤศจิกายน
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (1 นาที)
1004 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.65 นิ้วปรอท)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนอูลเปียง

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
ระยะเวลา 6 – 8 ธันวาคม
ความรุนแรง 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที)
1003 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.62 นิ้วปรอท)

รายชื่อพายุ

ภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ ทั้งกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) และสำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) ต่างทำหน้าที่กำหนดชื่อของพายุหมุนเขตร้อนซึ่งก่อตัวภายในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ซึ่งเป็นผลให้พายุหมุนเขตร้อนอาจมีสองชื่อ[1] RSMC โตเกียวโดยกรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น — ศูนย์ไต้ฝุ่นจะกำหนดชื่อสากลให้กับพายุหมุนเขตร้อนในนามของคณะกรรมการไต้ฝุ่นขององค์การอุตุนิยมวิทยาโลก ซึ่งพวกเขาจะประมาณความเร็วลมเฉลี่ยภายใน 10 นาทีของพายุหมุนเขตร้อน หากมีความเร็วลมถึง 65 km/h (40 mph) พายุหมุนเขตร้อนดังกล่าวจะได้รับชื่อ[2] ส่วน PAGASA จะกำหนดชื่อให้กับพายุหมุนเขตร้อน ซึ่งเคลื่อนตัวเข้าหรือก่อตัวขึ้นเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อนภายในพื้นที่รับผิดชอบของฟิลิปปินส์ มีขอบเขตอยู่ระหว่างเส้นเมริเดียนที่ 135°ดะวันออก ถึง 115°ตะวันออก และระหว่างเส้นขนานที่ 5°เหนือ ถึง 25°เหนือ แม้ว่าพายุหมุนเขตร้อนลูกนั้นจะได้รับชื่อสากลแล้วก็ตาม[1] โดยชื่อของพายุหมุนเขตร้อนที่มีนัยสำคัญจะถูกถอนโดยทั้ง PAGASA และ คณะกรรมการไต้ฝุ่น[2] ในระหว่างฤดูกาล หากรายชื่อของภูมิภาคฟิลิปปินส์ที่เตรียมไว้ถูกใช้จนหมด PAGASA จะใช้ชื่อจากรายชื่อเพิ่มเติม ซึ่งถูกกำหนดขึ้นไว้ในแต่ละฤดูกาลมาใช้กับพายุหมุนเขตร้อนแทนชื่อที่หมดไป

ชื่อสากล

กรมอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น (JMA) จะเป็นหน่วยงานที่กำหนดชื่อให้กับพายุหมุนเขตร้อน เมื่อระบบได้รับการประมาณว่า มีความเร็วลมเฉลี่ยภายใน 10 นาที ที่ 65 km/h (40 mph)[3] โดย JMA จะคัดเลือกชื่อจากรายการ 140 ชื่อ ซึ่งได้รับการปรับปรุงโดย 14 ประเทศสมาชิกและดินแดนของคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียและแปซิฟิก (ESCAP)/WMO คณะกรรมการไต้ฝุ่น[4] โดยรายชื่อด้านล่างจะเป็นรายชื่อ พร้อมเลขรหัสพายุ ชื่อที่ใช้เป็นชื่อแรกของฤดูกาล 2543 คือ ด็อมเร็ย จากชุดที่ 1 และชื่อที่ใช้เป็นชื่อสุดท้ายคือ ซูลิก จากชุดที่ 1 รวมมีชื่อจากชุดรายชื่อถูกใช้ 23 ชื่อ

รายชื่อพายุหมุนเขตร้อนสากลของมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกในฤดูกาล 2543
ชุด รหัสพายุ ชื่อพายุ ชุด รหัสพายุ ชื่อพายุ ชุด รหัสพายุ ชื่อพายุ ชุด รหัสพายุ ชื่อพายุ
ชุดที่ 1 0001 ด็อมเร็ย
(Damrey)
ชุดที่ 1 0007 จันจู
(Chanchu)
ชุดที่ 1 0013 มาเรีย
(Maria)
ชุดที่ 1 0019 ยางิ
(Yagi)
0002 หลงหวาง
(Longwang)
0008 เจอลาวัต
(Jelawat)
0014 ซาวมาย
(Saomai)
0020 ซ้างสาน
(Xangsane)
0003 คีโรกี
(Kirogi)
0009 เอวิเนียร์
(Ewiniar)
0015 บบพา
(Bopha)
0021 เบบินคา
(Bebinca)
0004 ไคตั๊ก
(Kai-tak)
0010 บีลิส
(Bilis)
0016 อู๋คง
(Wukong)
0022 รุมเบีย
(Rumbia)
0005 เท็มบิง
(Tembin)
0011 แคมี
(Kaemi)
0017 โซนามู
(Sonamu)
0023 ซูลิก
(Soulik)
0006 บอละเวน
(Bolaven)
0012 พระพิรุณ
(Prapiroon)
0018 ชานชาน
(Shanshan)

ฟิลิปปินส์

สำนักงานบริหารบรรยากาศ ธรณีฟิสิกส์ และดาราศาสตร์แห่งฟิลิปปินส์ (PAGASA) จะใช้ชื่อของตัวเองหากมีพายุใดก่อตัวหรือเคลื่อนผ่านพื้นที่รับผิดชอบของตน[5] โดยชื่อที่ใช้ถูกนำมาจากรายชื่อ ซึ่งเป็นรายชื่อเดียวกับที่ถูกใช้ไปในฤดูกาล ค.ศ. 1996 (พ.ศ. 2539) นี่เป็นฤดูกาลสุดท้ายที่ PAGASA ใช้รูปแบบการตั้งชื่อของตัวเองแบบเรียงตามตัวอักษรฟิลิปิโน (A, B, K, D เป็นต้น) และเป็นชื่อผู้หญิงในภาษาฟิลิปิโน ซึ่งลงท้ายด้วยอักษร "ng" โดยตั้งแต่ปี ค.ศ. 2001 (พ.ศ. 2544) เป็นต้นไป PAGASA จะริเริ่มการตั้งชื่อของต้นเองเรียงตามอักษรภาษาอังกฤษแทน ส่วนรายชื่อด้านล้างนี้ ชื่อที่ไม่ถูกใช้จะทำเป็น อักษรสีเทา

รายชื่อพายุหมุนเขตร้อนท้องถิ่นฟิลิปปินส์ในฤดูกาล 2543
อาเซียง (Asiang) (0001) โกลริง (Gloring) นิงนิง (Ningning) (0015) โตยัง (Toyang) (0022)
บีริง (Biring) (0002) ฮัวนิง (Huaning) (0006) โอซัง (Osang) (0014) อูลเปียง (Ulpiang)
โกนซิง (Konsing) อีซัง (Isang) (0010) ปาริง (Paring) (0019) เวลปริง (Welpring) (0023)
ตีตัง (Ditang) (0003) ลูซิง (Lusing) (0012) เรมิง (Reming) (0020) เยร์ลิง (Yerling) (ไม่ถูกใช้)
เอเดง (Edeng) (0004) มาริง (Maring) (0016) เซเนียง (Seniang) (0021)
รายชื่อเพิ่มเติม
อาริง (Aring) (ไม่ถูกใช้)
บาเซียง (Basiang) (ไม่ถูกใช้) กาเดียง (Kadiang) (ไม่ถูกใช้) โดรัง (Dorang) (ไม่ถูกใช้) กราซิง (Grasing) (ไม่ถูกใช้)

ผลกระทบ

ตารางนี้รวมเอาทั้งหมดของระบบพายุที่ก่อตัวภายใน หรือ เคลื่อนตัวเข้ามาในมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ ทางฝั่งตะวันตกของเส้นแบ่งวันสากล ภายในปี พ.ศ. 2543 ตารางนี้ยังมีภาพรวมของความรุนแรงของระบบ ระยะเวลา บริเวณที่มีผลกระทบกับแผ่นดิน และจำนวนความเสียหายหรือจำนวนผู้เสียชีวิตใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบพายุ ส่วนตัวเลขมูลค่าความเสียหายถูกปรับเป็นค่าเงินดอลลาร์สหรัฐ ค.ศ. 2016 (พ.ศ. 2559)

ชื่อพายุ ช่วงวันที่ ระดับความรุนแรง
ขณะมีกำลังสูงสุด
ความเร็วลมต่อเนื่อง
(เฉลี่ย 10 นาที)
ความกดอากาศ พื้นที่ผลกระทบ ความเสียหาย
(USD)
ผู้เสียชีวิต อ้างอิง
TD 7 – 8 กุมภาพันธ์ พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) หมู่เกาะมาเรียนา &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
ด็อมเร็ย
(อาเซียง)
5 – 12 พฤษภาคม พายุไต้ฝุ่น 165 กม./ชม. 930 hPa (27.46 นิ้วปรอท) หมู่เกาะแคโรไลน์ &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
หลงหวาง
(บีริง)
17 – 20 พฤษภาคม พายุโซนร้อน 85 กม./ชม. 990 hPa (29.23 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, หมู่เกาะรีวกีว &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
TD 17 – 18 พฤษภาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1000 hPa (29.53 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
03W
(โกนซิง)
20 – 21 พฤษภาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
04W 30 พฤษภาคม – 1 มิถุนายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท) เวียดนาม &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
TD June 18 พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1002 hPa (29.59 นิ้วปรอท) ภาคใต้ของจีน &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
คีโรกี
(ดีตัง)
2 – 8 กรกฎาคม พายุไต้ฝุ่น 155 กม./ชม. 940 hPa (27.76 นิ้วปรอท) ญี่ปุ่น &0000000140000000000000140 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 5
ไคตั๊ก
(เอเดง)
3 – 10 กรกฎาคม พายุไต้ฝุ่น 140 กม./ชม. 960 hPa (28.35 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน, ภาคตะวันออกของจีน, เกาหลี &0000000000000000000000 ไม่ทราบ 16
07W
(โกลริง)
11 – 13 กรกฎาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1000 hPa (29.53 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์ &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
TD July 11 พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1000 hPa (29.53 นิ้วปรอท) ภาคใต้ของจีน &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
08W 15 – 17 กรกฎาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 996 hPa (29.41 นิ้วปรอท) ภาคใต้ของจีน &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
เท็มบิง 17 – 23 กรกฎาคม พายุโซนร้อน 75 กม./ชม. 992 hPa (29.29 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
TD 21 กรกฎาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ภาคใต้ของจีน, เวียดนาม &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
10W 20 – 22 กรกฎาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 45 กม./ชม. 1000 hPa (29.53 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์ &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
บอละเวน
(ฮัวนิง)
24 – 31 กรกฎาคม พายุโซนร้อนกำลังแรง 95 กม./ชม. 980 hPa (28.94 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, หมู่เกาะรีวกีว, ญี่ปุ่น, เกาหลี &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
จันจู 27 – 30 กรกฎาคม พายุโซนร้อน 65 กม./ชม. 996 hPa (29.41 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
เจอลาวัต 31 กรกฎาคม – 12 สิงหาคม พายุไต้ฝุ่น 155 กม./ชม. 940 hPa (27.76 นิ้วปรอท) หมู่เกาะรีวกีว, ภาคตะวันออกของจีน &0000000000000000000000 ไม่ทราบ &0000000000000000000000 ไม่มี
TD 1 – 3 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) หมู่เกาะรีวกีว, ญี่ปุ่น, เกาหลี &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
14W 7 – 10 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1008 hPa (29.77 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
เอวิเนียร์ 9 – 18 สิงหาคม พายุไต้ฝุ่น 120 กม./ชม. 975 hPa (27.76 นิ้วปรอท) หมู่เกาะมาเรียนา &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
TD 11 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
16W
(เวเน)
13 – 15 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1008 hPa (29.77 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
17W 16 – 18 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. (35 mph) 1008 hPa (29.77 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
บิลิส
(อีซัง)
18 – 25 สิงหาคม พายุไต้ฝุ่น 220 กม./ชม. 920 hPa (27.17 นิ้วปรอท) หมู่เกาะแคโรไลน์, ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน, จีน &0000000668000000000000668 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 71
TD 18 – 20 สิงหาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ญี่ปุ่น &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
แคมี 19 – 23 สิงหาคม พายุโซนร้อน 75 กม./ชม. 985 hPa (29.09 นิ้วปรอท) เวียดนาม, กัมพูชา &0000000000000000000000 ไม่มี 14
พระพิรุณ
(ลูซิง)
24 สิงหาคม – 1 กันยายน พายุไต้ฝุ่น 130 กม./ชม. 950 hPa (28.50 นิ้วปรอท) หมู่เกาะแคโรไลน์, หมู่เกาะรีวกีว, ภาคตะวันออกของจีน,
ไต้หวัน, เกาหลี, รัสเซีย
&00000060100000000000006.01 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 75
มาเรีย 27 สิงหาคม – 2 กันยายน พายุโซนร้อน 75 กม./ชม. 985 hPa (29.09 นิ้วปรอท) จีน &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
TD 31 สิงหาคม – 1 กันยายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
ซาวมาย
(โอซัง)
31 สิงหาคม – 16 กันยายน พายุไต้ฝุ่น 175 กม./ชม. 925 hPa (27.32 นิ้วปรอท) หมู่เกาะมาเรียนา, หมู่เกาะรีวกีว,
ภาคตะวันออกของจีน, เกาหลี, รัสเซีย
&0000000295000000000000295 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 28
TD 1 กันยายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
บบพา
(นิงนิง)
4 – 11 กันยายน พายุโซนร้อน 75 กม./ชม. 988 hPa (29.17 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน, หมู่เกาะรีวกีว &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
อู๋คง
(มาริง)
4 – 10 กันยายน พายุไต้ฝุ่น 140 กม./ชม. 955 hPa (28.20 นิ้วปรอท) ภาคใต้ของจีน, เวียดนาม, ลาว &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
โซนามู 14 – 18 กันยายน พายุโซนร้อนกำลังแรง 100 กม./ชม. 980 hPa (28.94 นิ้วปรอท) ญี่ปุ่น &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
TD 14 – 16 กันยายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
ชานชาน 17 – 24 กันยายน พายุไต้ฝุ่น 175 กม./ชม. 925 hPa (27.32 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
TD 27 – 29 กันยายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1006 hPa (29.71 นิ้วปรอท) เวียดนาม &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
27W 27 กันยายน – 2 ตุลาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1008 hPa (29.77 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
28W 6 – 14 ตุลาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 998 hPa (29.47 นิ้วปรอท) เวียดนาม, ภาคใต้ของจีน &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
TD 13 – 14 ตุลาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1008 hPa (29.77 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
TD 17 – 18 ตุลาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1008 hPa (29.77 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
ยางิ
(ปาริง)
21 – 28 ตุลาคม พายุไต้ฝุ่น 130 กม./ชม. 965 hPa (28.50 นิ้วปรอท) หมู่เกาะรีวกีว, ไต้หวัน &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
ซ้างสาน
(เรมิง)
25 ตุลาคม – 1 พฤศจิกายน พายุไต้ฝุ่น 140 กม./ชม. (85 mph) 960 hPa (28.35 นิ้วปรอท) หมู่เกาะแคโรไลน์, ฟิลิปปินส์, ไต้หวัน, ญี่ปุ่น &0000000000000000000000 ไม่ทราบ 181
เบบินคา
(เซเนียง)
31 ตุลาคม – 7 พฤศจิกายน พายุโซนร้อนกำลังแรง 110 กม./ชม. 980 hPa (28.94 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, ภาคใต้ของจีน &0000000000000000000000 ไม่มี 26
32W 7 – 9 พฤศจิกายน พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) หมู่เกาะรีวกีว &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
รุมเบีย
(โตยัง)
27 พฤศจิกายน – 7 ธันวาคม พายุโซนร้อน 75 กม./ชม. 990 hPa (29.23 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์, เวียดนาม &00000000010000000000001 ล้านดอลลาร์สหรัฐ 48
อูลเปียง 6 – 8 ธันวาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน 55 กม./ชม. 1004 hPa (29.65 นิ้วปรอท) ฟิลิปปินส์ &0000000000000000000000 ไม่มี 3
TD 24 ธันวาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1008 hPa (29.77 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
TD 24 ธันวาคม พายุดีเปรสชันเขตร้อน ไม่ได้ระบุ 1006 hPa (29.71 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี ไม่มี
ซูลิก
(เวลปริง)
29 ธันวาคม 2543 –
4 มกราคม 2544
พายุไต้ฝุ่น 150 กม./ชม. 955 hPa (28.20 นิ้วปรอท) ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี &0000000000000000000000 ไม่มี
สรุปฤดูกาล
51 ลูก 7 กุมภาพันธ์ 2543 –
4 มกราคม 2544
  220 กม./ชม. 920 hPa (27.17 นิ้วปรอท)   &00000071140000000000007.11 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ 467


ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 Padgett, Gary. "Monthly Tropical Cyclone Summary December 1999". Australian Severe Weather. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 สิงหาคม 2555. สืบค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2556. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  2. 2.0 2.1 The Typhoon Committee (21 กุมภาพันธ์ 2556). "Typhoon Committee Operational Manual 2013". World Meteorological Organization. pp. 37–38. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 28 สิงหาคม 2555. สืบค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2556. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. http://www.typhooncommittee.org/48th/docs/item%204%20technical%20presentations/4.1.Review2015TyphoonSeason.pdf
  4. Zhou, Xiao; Lei, Xiaotu (2012). "Summary of retired typhoons within the Western North Pacific Ocean". Tropical Cyclone Research and Review. The Economic and Social Commission for Asia and the Pacific/World Meteorological Organization's Typhoon Committee. 1 (1): 23–32. doi:10.6057/2012TCRR01.03. ISSN 2225-6032. สืบค้นเมื่อ 21 ธันวาคม 2557. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  5. Staff Writer (2010-09-22). "Philippine Tropical cyclone names". Philippine Atmospheric, Geophysical and Astronomical Services. Administration. สืบค้นเมื่อ 2010-09-23.

แหล่งข้อมูลอื่น