ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมหลวงต่วนศรี วรวรรณ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎ประวัติ: หม่อมราชวงศ์ไม่เรียกลำลองว่าท่าน ต้องเรียกว่าคุณหญิงและคุณชาย
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 25: บรรทัด 25:
}}
}}


'''หม่อมหลวงต่วนศรี วรวรรณ''' เป็นหม่อมใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์]]
'''หม่อมหลวงต่วนศรี วรวรรณ''' เป็นหม่อมใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์]]


==เครื่องราชอิสริยาภรณ์==
==เครื่องราชอิสริยาภรณ์==
บรรทัด 32: บรรทัด 32:


==ประวัติ==
==ประวัติ==
หม่อมต่วนศรี วรวรรณ เป็นชาวบางกอกใหญ่ [[ธนบุรี]] เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีแรม 14 ค่ำ เดือน 9 ปีจอ ตรงกับวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2417<ref>[http://www.watsamphan.com/datawat/my08_builder/05_buider_other.html ประวัติศาสตร์ควรบันทึกไว้ สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงพิทักษ์มนตรี องค์บูรณะปฏิสังขรณ์วัดสัมพันธวงศ์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2556</ref> ในสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นธิดาของหม่อมราชวงศ์ตาบ มนตรีกุล มารดาชื่อยิ้ม (สกุลเดิมศิริวันต์) สายราชสกุลมนตรีกุล ของหม่อมหลวงต่วนศรี เป็นสายที่มีความสามารถสูงในเชิงละครมาตั้งแต่[[สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุ้ย กรมหลวงพิทักษ์มนตรี]] ผู้เป็นต้นราชสกุลนี้
หม่อมต่วนศรี วรวรรณ เป็นชาวบางกอกใหญ่ [[ธนบุรี]] เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีแรม 14 ค่ำ เดือน 9 ปีจอ ตรงกับวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2417<ref>[http://www.watsamphan.com/datawat/my08_builder/05_buider_other.html ประวัติศาสตร์ควรบันทึกไว้ สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงพิทักษ์มนตรี องค์บูรณะปฏิสังขรณ์วัดสัมพันธวงศ์]. สืบค้นเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2556</ref> ในสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นธิดาของหม่อมราชวงศ์ตาบ มนตรีกุล มารดาชื่อยิ้ม (สกุลเดิมศิริวันต์) สายราชสกุลมนตรีกุล ของหม่อมหลวงต่วนศรี เป็นสายที่มีความสามารถสูงในเชิงละครมาตั้งแต่[[สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงพิทักษ์มนตรี]] ผู้เป็นต้นราชสกุลนี้


หม่อมต่วนศรี วรวรรณ มีศักดิ์เป็นหลาน ของ [[หม่อมราชวงค์ สนอง มนตรีกุล ณ อยุธยา|หม่อมราชวงศ์สนอง มนตรีกุล]]
หม่อมต่วนศรี วรวรรณ มีศักดิ์เป็นหลาน ของ [[หม่อมราชวงค์ สนอง มนตรีกุล ณ อยุธยา|หม่อมราชวงศ์สนอง มนตรีกุล]]


หม่อมเจ้าแบน มนตรีกุล และ หม่อมราชวงศ์ตาบ มนตรีกุล ซึ่งเป็นท่านปู่และบิดาของหม่อมหลวงต่วนศรี ก็มีความรู้ความสามารถและสนใจปลูกฝังวิชาการละครตกทอดมาตามลำดับจนถึงหม่อมหลวงต่วนศรี ท่านจึงรอบรู้ทั้งในกระบวนรำและดนตรีตลอดจนการขับร้อง โดยเฉพาะจะเข้นั้นหม่อมหลวงต่วนศรี เล่นได้ดีมาก เมื่อท่านได้มาเป็นหม่อมของ[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์]]นั้น ท่านได้เป็นศิษย์ของ[[เจ้าจอมมารดาเขียน ในรัชกาลที่ 4]] ซึงเป็นพระมารดาของกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ เจ้าจอมมารดาเขียนก็เป็นตัวละครเอกมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 เป็นตัวเอก (เรียกกันเป็นสมญาว่า เขียนอิเหนา เขียนสังคามารตา) จึงได้มรดกการร่ายรำและเพลงการ ตกทอดมาอีกเป็นอันมาก ความรู้ของหม่อมหลวงต่วนศรี จึงมีอุดมสมบูรณ์ในเชิงละครทุกประการ
หม่อมเจ้าแบน มนตรีกุล และ หม่อมราชวงศ์ตาบ มนตรีกุล ซึ่งเป็นท่านปู่และบิดาของหม่อมหลวงต่วนศรี ก็มีความรู้ความสามารถและสนใจปลูกฝังวิชาการละครตกทอดมาตามลำดับจนถึงหม่อมหลวงต่วนศรี ท่านจึงรอบรู้ทั้งในกระบวนรำและดนตรีตลอดจนการขับร้อง โดยเฉพาะจะเข้นั้นหม่อมหลวงต่วนศรี เล่นได้ดีมาก เมื่อท่านได้มาเป็นหม่อมของ[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์]]นั้น ท่านได้เป็นศิษย์ของ[[เจ้าจอมมารดาเขียน ในรัชกาลที่ 4]] ซึงเป็นพระมารดาของกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ เจ้าจอมมารดาเขียนก็เป็นตัวละครเอกมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 เป็นตัวเอก (เรียกกันเป็นสมญาว่า เขียนอิเหนา เขียนสังคามารตา) จึงได้มรดกการร่ายรำและเพลงการ ตกทอดมาอีกเป็นอันมาก ความรู้ของหม่อมหลวงต่วนศรี จึงมีอุดมสมบูรณ์ในเชิงละครทุกประการ


เมื่อกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ทรงตั้งคณะละครนฤมิตรขึ้น ท่านก็เป็นกำลังสำคัญในการแต่งเพลงในละครร้องทุกเรื่อง บทละครนั้น กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ทรงนิพนธ์อย่างรวดเร็วและท่านก็บรรจุเพลงได้อย่างรวดเร็วทันท่วงทีด้วย เรียกว่าไวกันกันทั้งคู่ วิธีการนั้นคือ ท่านจะเป็นผู้ดีดจะเข้และร้องเพลงไปพร้อมกัน รวมทั้งคิดท่ารำตีบทให้เสร็จที่ขั้นชื่อมากคือเรื่องพระลอ ละครเรื่องแรกที่ท่านมีส่วนช่วยเหลือมากคือเรื่องอาหรับราตรี ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเรื่องเป็นละครหลวงนฤมิตร จนเมื่อเกิดเป็น[[โรงละครปรีดาลัย]]ขึ้น ก็เรียกละครปรีดาลัย เพลงต่างๆ ในเรื่อง สาวเครือฟ้า ตุ๊กตายอดรัก พระเจ้าสีป๊อมินทร์ ขวดแก้วเจียรนัย ฯลฯ ล้วนแล้วแต่เป็นฝีมือของท่านทั้งสิ้น ความเป็นอัจฉริยะทางดนตรีของท่านเห็นได้จากการแต่งเพลงและบรรจุเพลงลงในละครแต่ละเรื่อง เพราะปรากฏว่า ท่านแต่งเพลงเร็วมากและมีลูกเล่นยักเยื้องแพรวพราว เพลงสำเนียงลาวต่างๆ ที่ท่านนำมาบรรจุลงในละครเรื่องพระลอนั้น จริงอยู่ของเก่าก็มีอยู่บ้างแล้วเหมือนกัน แต่ท่านสามารถเปลี่ยนทำนองจนเกิดเป็นเพลงแนวใหม่ขึ้นได้อย่างฉับไว คุณสมบัติข้อนี้จะเห็นได้จากละครเรื่องพระเจ้าสิป๊อมินทร์ อีกเรื่องหนึ่ง เพราะท่านให้กำเนิดเพลงสำเนียงพม่าขึ้นมาใหม่ มีชื่อแปลกๆถึงกว่า 50 เพลง อาทิ พม่าพ้อ พม่าวอน พม่าพิโรธ พม่าตังคียก พม่าพรึม พม่าเหเฮ พม่าละห้อย ฯลฯ มากมายสุดจะพรรณนา ท่านมีอายุยืนมาก และความจำดีจนวาระสุดท้ายเมื่อท่านอายุเกิน 90 ปี ยังนั่งดูละครโทรศัน์ของกรมศิลปากรบ่อยๆ ท่านสามารถติชมวิจารณ์ได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะถ้าเล่าเรื่องพระลอ แล้ว ท่านจะตั้งใจดูเป็นพิเศษ ถ้าเห็นผิดไปจากแนวเดิมของท่านก็แสดงความขุ่นข้องในใจทุกคราวไป<ref>[http://mulinet3.li.mahidol.ac.th/elib/cgi-bin/opacexe.exe?op=dig&db=MUSIC&pat=code&cat=aut&skin=u&lpp=16&catop=&scid=zzz&ref=A:@551&nx=1&lang=1 ต่วนศรี วรวรรณ, หม่อมหลวง (พ.ศ. 2417-2517)]. สืบค้นเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2556</ref>
เมื่อกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ทรงตั้งคณะละครนฤมิตรขึ้น ท่านก็เป็นกำลังสำคัญในการแต่งเพลงในละครร้องทุกเรื่อง บทละครนั้น กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ทรงนิพนธ์อย่างรวดเร็วและท่านก็บรรจุเพลงได้อย่างรวดเร็วทันท่วงทีด้วย เรียกว่าไวกันกันทั้งคู่ วิธีการนั้นคือ ท่านจะเป็นผู้ดีดจะเข้และร้องเพลงไปพร้อมกัน รวมทั้งคิดท่ารำตีบทให้เสร็จที่ขั้นชื่อมากคือเรื่องพระลอ ละครเรื่องแรกที่ท่านมีส่วนช่วยเหลือมากคือเรื่องอาหรับราตรี ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเรื่องเป็นละครหลวงนฤมิตร จนเมื่อเกิดเป็น[[โรงละครปรีดาลัย]]ขึ้น ก็เรียกละครปรีดาลัย เพลงต่างๆ ในเรื่อง สาวเครือฟ้า ตุ๊กตายอดรัก พระเจ้าสีป๊อมินทร์ ขวดแก้วเจียรนัย ฯลฯ ล้วนแล้วแต่เป็นฝีมือของท่านทั้งสิ้น ความเป็นอัจฉริยะทางดนตรีของท่านเห็นได้จากการแต่งเพลงและบรรจุเพลงลงในละครแต่ละเรื่อง เพราะปรากฏว่า ท่านแต่งเพลงเร็วมากและมีลูกเล่นยักเยื้องแพรวพราว เพลงสำเนียงลาวต่างๆ ที่ท่านนำมาบรรจุลงในละครเรื่องพระลอนั้น จริงอยู่ของเก่าก็มีอยู่บ้างแล้วเหมือนกัน แต่ท่านสามารถเปลี่ยนทำนองจนเกิดเป็นเพลงแนวใหม่ขึ้นได้อย่างฉับไว คุณสมบัติข้อนี้จะเห็นได้จากละครเรื่องพระเจ้าสิป๊อมินทร์ อีกเรื่องหนึ่ง เพราะท่านให้กำเนิดเพลงสำเนียงพม่าขึ้นมาใหม่ มีชื่อแปลกๆถึงกว่า 50 เพลง อาทิ พม่าพ้อ พม่าวอน พม่าพิโรธ พม่าตังคียก พม่าพรึม พม่าเหเฮ พม่าละห้อย ฯลฯ มากมายสุดจะพรรณนา ท่านมีอายุยืนมาก และความจำดีจนวาระสุดท้ายเมื่อท่านอายุเกิน 90 ปี ยังนั่งดูละครโทรศัน์ของกรมศิลปากรบ่อยๆ ท่านสามารถติชมวิจารณ์ได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะถ้าเล่าเรื่องพระลอ แล้ว ท่านจะตั้งใจดูเป็นพิเศษ ถ้าเห็นผิดไปจากแนวเดิมของท่านก็แสดงความขุ่นข้องในใจทุกคราวไป<ref>[http://mulinet3.li.mahidol.ac.th/elib/cgi-bin/opacexe.exe?op=dig&db=MUSIC&pat=code&cat=aut&skin=u&lpp=16&catop=&scid=zzz&ref=A:@551&nx=1&lang=1 ต่วนศรี วรวรรณ, หม่อมหลวง (พ.ศ. 2417-2517)]. สืบค้นเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2556</ref>
บรรทัด 43: บรรทัด 43:


==โอรส/ธิดา==
==โอรส/ธิดา==
หม่อมหลวงต่วนศรี วรวรรณมีโอรส/ธิดากับ[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรวรรณากร กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์]] 2 พระองค์ ได้แก่
หม่อมหลวงต่วนศรี วรวรรณมีโอรส/ธิดากับ[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์]] 2 พระองค์ ได้แก่
* ศาสตราจารย์ พลตรี[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์]] (25 สิงหาคม 2434 - 5 กันยายน 2519) พระนามเดิม หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ, องคมนตรีในรัชกาลที่ 6, อดีตอธิการบดี[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] และรองนายกรัฐมนตรี ทรงเสกสมรสกับ หม่อมเจ้าหญิงพิบูลย์เบญจางค์ กิติยากร และ หม่อมสร้อยสุพิณ บุนนาค (2436-2525) มีธิดากับหม่อมสร้อยสุพิณ 1 ท่าน คือ ท่านผู้หญิงวิวรรณ เศรษฐบุตร (นามเดิม หม่อมราชวงศ์วิวรรณ วรวรรณ, สมรสกับ นายจิตริก เศรษฐบุตร อดีตเอกอัครราชทูต)
* ศาสตราจารย์ พลตรี [[พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์]] (25 สิงหาคม 2434 - 5 กันยายน 2519) พระนามเดิม หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ, องคมนตรีในรัชกาลที่ 6, อดีตอธิการบดี[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]] และรองนายกรัฐมนตรี ทรงเสกสมรสกับ หม่อมเจ้าหญิงพิบูลย์เบญจางค์ กิติยากร และ หม่อมสร้อยสุพิณ บุนนาค (2436-2525) มีธิดากับหม่อมสร้อยสุพิณ 1 ท่าน คือ ท่านผู้หญิงวิวรรณ เศรษฐบุตร (นามเดิม หม่อมราชวงศ์วิวรรณ วรวรรณ, สมรสกับ นายจิตริก เศรษฐบุตร อดีตเอกอัครราชทูต)


* [[หม่อมเจ้าศิวากร วรวรรณ]] (20 มีนาคม 2439-5 มีนาคม 2503) อดีตอาจารย์เตรียมแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , อดีตเลขานุการสถานทูตไทยประจำกรุงลอนดอน, ครูโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, ครูใหญ่โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย และ ครูใหญ่โรงเรียนมหาวชิราวุธ จ.สงขลา ไม่มีทายาทเนื่องจากครองความเป็นโสดจนกระทั่งสิ้นชีพตักษัย
* [[หม่อมเจ้าศิวากร วรวรรณ]] (20 มีนาคม 2439-5 มีนาคม 2503) อดีตอาจารย์เตรียมแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , อดีตเลขานุการสถานทูตไทยประจำกรุงลอนดอน, ครูโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, ครูใหญ่โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย และ ครูใหญ่โรงเรียนมหาวชิราวุธ จ.สงขลา ไม่มีทายาทเนื่องจากครองความเป็นโสดจนกระทั่งสิ้นชีพตักษัย

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:46, 31 ธันวาคม 2562

ศาสตราจารย์ ดร.วิเลิศ ภูริวัชร

คณบดี คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ดำรงตำแหน่งคณบดีวาระที่ 2

“วิสัยทัศน์ที่ดีนั้นต้องมีความก้าวล้ำ ไม่ใช่แค่ก้าวทัน และต้องไม่ใช่สิ่งที่เราทำได้ดีอยู่แล้ว แต่ต้องเป็นจุดหมายที่เรายังไม่เคยไปมาก่อนเพื่อท้าทายเราฝันให้ใหญ่ และไปให้ถึงความเป็นเลิศ” จาก..ความเชี่ยวชาญด้านการบริหารธุรกิจและองค์กรจากมหาวิทยาลัยชั้นนำ


ประวัติการศึกษา

● ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต(เกียรตินิยม) (สาขาการเงินและการธนาคาร), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

● ปริญญาโท Master of Public and Private Management, Yale University, USA

● ปริญญาโท Master of Business Administration, Yale University, USA

● Certificate in Human Resource Management, Harvard University, USA

● DPhil (Management Studies), University of Oxford, UK


สู่…ความเชี่ยวขาญ ด้านการบริหารธุรกิจและองค์กรจากมหาวิทยาลัยชั้นนำ

–––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––

ประวัติการทำงาน

● ดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์ สาขาบริหารธุรกิจ สังกัดคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตั้งแต่ พ.ศ.2564

● คณบดีคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วาระที่ 1 ตั้งแต่ พ.ศ.2562 ถึง เมษายน 2566

● คณบดีคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วาระที่ 2 ตั้งแต่ พ.ศ.2566 ถึงปัจจุบัน

● อดีตหัวหน้าภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี 2 วาระ ปี พ.ศ.2557-2562

● อดีตประธานคณะกรรมการดำเนินงานหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี

● อดีตรองประธานคณะกรรมการดำเนินงานหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี

● อดีตรองประธานกรรมการดำเนินงานหลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี

● อดีตหัวหน้าหน่วยงานสื่อสารองค์กร คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี

● อดีตกรรมการดำเนินงานหลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี

● กรรมการสภามหาวิทยาลัย ตั้งแต่วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2565 ถึงปัจจุบัน

● คณะกรรมการนโยบายการเงิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

● คณะกรรมการพิจารณากำหนดตำแหน่งเชี่ยวชาญระดับต้น เชี่ยวชาญระดับกลาง และเชี่ยวชาญระดับสูง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

● คณะกรรมการประกันคุณภาพ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

● คณะกรรมการอำนวยการวิเคราะห์กรอบอัตรากำลังของมหาวิทยาลัย

● อดีตผู้อำนวยการหลักสูตรสหสาขาวิชาธุรกิจเทคโนโลยีและการจัดการนวัตกรรม บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


ระดับนานาชาติ

● กรรมการประเมินผลงานคุณภาพระดับโลก AACSB (Association to Advance Collegiate Schools of Business)

● สถาบันรับรองมาตรฐานการศึกษาด้านบริหารธุรกิจ จากสหรัฐอเมริกา

● กรรมการประเมินผลงานคุณภาพระดับโลก EQUIS (EFMD Quality Improvement System)

● สถาบันรับรองมาตรฐานการศึกษาด้านบริหารธุรกิจ จากสหภาพยุโรป

● กรรมการประเมินผลงานคุณภาพระดับโลก AMBA (Association of MBAs)

● สถาบันรับรองมาตรฐานหลักสูตรบริหารธุรกิจระดับบัณฑิตศึกษา จากสหราชอาณาจักร

● ประธานกรรมการวิจัยร่วมกับ The World Economic Forum : WEF ในส่วนของการทำวิจัยในประเทศไทย

● กรรมการตัดสินในงานระดับโลก Youth4South Entrepreneurship Competition at United Nations

หม่อมหลวงต่วนศรี วรวรรณ เป็นหม่อมในพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

ประวัติ

หม่อมต่วนศรี วรวรรณ เป็นชาวบางกอกใหญ่ ธนบุรี เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีแรม 14 ค่ำ เดือน 9 ปีจอ ตรงกับวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2417[1] ในสมัยรัชกาลที่ 5 เป็นธิดาของหม่อมราชวงศ์ตาบ มนตรีกุล มารดาชื่อยิ้ม (สกุลเดิมศิริวันต์) สายราชสกุลมนตรีกุล ของหม่อมหลวงต่วนศรี เป็นสายที่มีความสามารถสูงในเชิงละครมาตั้งแต่สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงพิทักษ์มนตรี ผู้เป็นต้นราชสกุลนี้

หม่อมต่วนศรี วรวรรณ มีศักดิ์เป็นหลาน ของ หม่อมราชวงศ์สนอง มนตรีกุล

หม่อมเจ้าแบน มนตรีกุล และ หม่อมราชวงศ์ตาบ มนตรีกุล ซึ่งเป็นท่านปู่และบิดาของหม่อมหลวงต่วนศรี ก็มีความรู้ความสามารถและสนใจปลูกฝังวิชาการละครตกทอดมาตามลำดับจนถึงหม่อมหลวงต่วนศรี ท่านจึงรอบรู้ทั้งในกระบวนรำและดนตรีตลอดจนการขับร้อง โดยเฉพาะจะเข้นั้นหม่อมหลวงต่วนศรี เล่นได้ดีมาก เมื่อท่านได้มาเป็นหม่อมของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์นั้น ท่านได้เป็นศิษย์ของเจ้าจอมมารดาเขียน ในรัชกาลที่ 4 ซึงเป็นพระมารดาของกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ เจ้าจอมมารดาเขียนก็เป็นตัวละครเอกมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 เป็นตัวเอก (เรียกกันเป็นสมญาว่า เขียนอิเหนา เขียนสังคามารตา) จึงได้มรดกการร่ายรำและเพลงการ ตกทอดมาอีกเป็นอันมาก ความรู้ของหม่อมหลวงต่วนศรี จึงมีอุดมสมบูรณ์ในเชิงละครทุกประการ

เมื่อกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ทรงตั้งคณะละครนฤมิตรขึ้น ท่านก็เป็นกำลังสำคัญในการแต่งเพลงในละครร้องทุกเรื่อง บทละครนั้น กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ทรงนิพนธ์อย่างรวดเร็วและท่านก็บรรจุเพลงได้อย่างรวดเร็วทันท่วงทีด้วย เรียกว่าไวกันกันทั้งคู่ วิธีการนั้นคือ ท่านจะเป็นผู้ดีดจะเข้และร้องเพลงไปพร้อมกัน รวมทั้งคิดท่ารำตีบทให้เสร็จที่ขั้นชื่อมากคือเรื่องพระลอ ละครเรื่องแรกที่ท่านมีส่วนช่วยเหลือมากคือเรื่องอาหรับราตรี ซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเรื่องเป็นละครหลวงนฤมิตร จนเมื่อเกิดเป็นโรงละครปรีดาลัยขึ้น ก็เรียกละครปรีดาลัย เพลงต่างๆ ในเรื่อง สาวเครือฟ้า ตุ๊กตายอดรัก พระเจ้าสีป๊อมินทร์ ขวดแก้วเจียรนัย ฯลฯ ล้วนแล้วแต่เป็นฝีมือของท่านทั้งสิ้น ความเป็นอัจฉริยะทางดนตรีของท่านเห็นได้จากการแต่งเพลงและบรรจุเพลงลงในละครแต่ละเรื่อง เพราะปรากฏว่า ท่านแต่งเพลงเร็วมากและมีลูกเล่นยักเยื้องแพรวพราว เพลงสำเนียงลาวต่างๆ ที่ท่านนำมาบรรจุลงในละครเรื่องพระลอนั้น จริงอยู่ของเก่าก็มีอยู่บ้างแล้วเหมือนกัน แต่ท่านสามารถเปลี่ยนทำนองจนเกิดเป็นเพลงแนวใหม่ขึ้นได้อย่างฉับไว คุณสมบัติข้อนี้จะเห็นได้จากละครเรื่องพระเจ้าสิป๊อมินทร์ อีกเรื่องหนึ่ง เพราะท่านให้กำเนิดเพลงสำเนียงพม่าขึ้นมาใหม่ มีชื่อแปลกๆถึงกว่า 50 เพลง อาทิ พม่าพ้อ พม่าวอน พม่าพิโรธ พม่าตังคียก พม่าพรึม พม่าเหเฮ พม่าละห้อย ฯลฯ มากมายสุดจะพรรณนา ท่านมีอายุยืนมาก และความจำดีจนวาระสุดท้ายเมื่อท่านอายุเกิน 90 ปี ยังนั่งดูละครโทรศัน์ของกรมศิลปากรบ่อยๆ ท่านสามารถติชมวิจารณ์ได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะถ้าเล่าเรื่องพระลอ แล้ว ท่านจะตั้งใจดูเป็นพิเศษ ถ้าเห็นผิดไปจากแนวเดิมของท่านก็แสดงความขุ่นข้องในใจทุกคราวไป[2]

ท่านถึงแก่กรรมด้วยโรคหัวใจวาย เมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2517 รวมอายุได้ 99 ปี 4 เดือน

โอรส/ธิดา

หม่อมหลวงต่วนศรี วรวรรณมีโอรส/ธิดากับพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ 2 พระองค์ ได้แก่

  • ศาสตราจารย์ พลตรี พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ (25 สิงหาคม 2434 - 5 กันยายน 2519) พระนามเดิม หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ, องคมนตรีในรัชกาลที่ 6, อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และรองนายกรัฐมนตรี ทรงเสกสมรสกับ หม่อมเจ้าหญิงพิบูลย์เบญจางค์ กิติยากร และ หม่อมสร้อยสุพิณ บุนนาค (2436-2525) มีธิดากับหม่อมสร้อยสุพิณ 1 ท่าน คือ ท่านผู้หญิงวิวรรณ เศรษฐบุตร (นามเดิม หม่อมราชวงศ์วิวรรณ วรวรรณ, สมรสกับ นายจิตริก เศรษฐบุตร อดีตเอกอัครราชทูต)
  • หม่อมเจ้าศิวากร วรวรรณ (20 มีนาคม 2439-5 มีนาคม 2503) อดีตอาจารย์เตรียมแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , อดีตเลขานุการสถานทูตไทยประจำกรุงลอนดอน, ครูโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย, ครูใหญ่โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย และ ครูใหญ่โรงเรียนมหาวชิราวุธ จ.สงขลา ไม่มีทายาทเนื่องจากครองความเป็นโสดจนกระทั่งสิ้นชีพตักษัย

พระราชตระกูล

 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
16. เจ้าขรัวเงิน แซ่ตัน
 
 
 
 
 
 
 
8. สมเด็จพระสัมพันธวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุ้ย กรมหลวงพิทักษ์มนตรี
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
17. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าแก้ว กรมพระศรีสุดารักษ์
 
 
 
 
 
 
 
4. หม่อมเจ้าแบน มนตรีกุล
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2. หม่อมราชวงศ์ตาบ มนตรีกุล
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
1. หม่อมหลวงต่วนศรี วรวรรณ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
3. หม่อมยิ้ม มนตรีกุล ณ อยุธยา (สิริวันต์)
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

อ้างอิง